Contents
สรุปสั้น ๆ CPU, GPU ต้องอุณหภูมิเท่าไหร่ จะเรียกกันว่าร้อน ? | อุณหภูมิ คอม.
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อุณหภูมิ คอม หรือข่าวที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โปรดไปที่: chewathai27.com/wiki/ การกระทำ
สรุปสั้น ๆ CPU, GPU ต้องอุณหภูมิเท่าไหร่ จะเรียกกันว่าร้อน ? และรูปภาพที่เกี่ยวข้องอุณหภูมิ คอม
สรุปสั้น ๆ CPU, GPU ต้องอุณหภูมิเท่าไหร่ จะเรียกกันว่าร้อน ?
เลยลองเอาคลิปนี้มาให้ชมกันแบบสั้น ๆ หรืออาจจะเป็นบทสรุปสั้นๆ ของเนื้อหาที่นำเสนอผ่าน Live ทำให้หัวข้อ CPU ร้อนแรง! GPU ร้อนแรง! อุณหภูมิปกติคืออะไร? (Season II)- ไปยังลิงก์ที่ร้อนแรงที่สุด แต่อาจยาวเกินไปสำหรับบางท่าน และบางท่านอาจไม่ต้องการรายละเอียดปลีกย่อยทั้งหมด ดังนั้นที่นี่จะเป็นคำตอบสั้น ๆ สำหรับคำถามที่ว่า CPU ระดับไหน อุณหภูมิ GPU เป็นจุดอันตรายหรือไม่? ปลอดภัยระดับไหน? ต้องตรวจสอบระดับใดหรือควรแก้ไข ? อย่างไรก็ตามในคลิปนี้ไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับศัพท์เทคนิคหรือที่มาของคำศัพท์แต่อย่างใด และถ้าคุณต้องการเข้าใจในรายละเอียดจริงๆ คุณสามารถย้อนกลับไปดูเวอร์ชันเต็มได้โดยไปที่ลิงก์ที่ให้ไว้ด้านบน #ZoLKoRn #CPU Temperature #CPU heat 0:00 : program start time Introduction to this tape 1:11 : Summary of CPU temperature : How is it based on ? 3:35 : เราจะวิเคราะห์ความร้อนสูงสุดที่ CPU รับได้อย่างไร 8:29 : บทสุดท้ายเกี่ยวกับอุณหภูมิ CPU 10 :39 : จบโปรแกรม Credit : End music : Titre : Nothing I Won’t Do (feat. Kianna) ศิลปิน : Giulio Cercato ขับเคลื่อนโดย: ..
>>> สามารถหาข้อมูลที่น่าสนใจอื่นๆ ได้ที่นี่ chewathai27.com
แบ่งปันที่นี่
อุณหภูมิ คอม – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.
#สรปสน #ๆ #CPU #GPU #ตองอณหภมเทาไหร #จะเรยกกนวารอน.
ZoLKoRn,Vlog,CPU Temp,อุณหภูมิซีพียู,ความร้อนซีพียู,ซีพียูร้อน,อุณหภูมิ,ความร้อน
สรุปสั้น ๆ CPU, GPU ต้องอุณหภูมิเท่าไหร่ จะเรียกกันว่าร้อน ?
อุณหภูมิ คอม.
หวังว่า แบ่งปัน ในหัวข้อ อุณหภูมิ คอม นี้จะ มีคุณค่า มาสู่คุณ ขอบคุณมากที่รับชม.
อุณหภูมิ 60-70 องศา – อยู่ในเกณฑ์ปกติแต่อาจจะมีฝุ่นเกาะตามช่องระบายอากาศบ้างควรตรวจสอบเป็นบางครั้ง อุณหภูมิ 70-80 องศา – เป็นอุณหภูมิที่อยู่ในเกณฑ์รับได้แต่ทั้งนี้ควรตรวจสอบเรื่องของฝุ่นและพัดลมอาจไม่ทำงาน อุณหภูมิ 80-90 องศา – เป็นอุณหภูมิที่สูงจนเกินไปซึ่งอาจมีการทำ Overclock หรือไม่มีการทำความสะอาดเป็นเวลานาน
[Special] เจาะประเด็น CPU มีความร้อนสูงทำให้คอมพิวเตอร์เสียหายจริงหรือไม่ ? พร้อมแนะนำวิธีระบายความร้อน
จริงอยู่ที่การทำงานของ CPU จะเกิดความร้อนแต่ถ้าหากมันร้อนจัดจนคอมดับไปเองก็ไม่ต้องกังวลไปว่าตัว CPU ของเราจะเสียหายจนต้องเปลี่ยนใหม่หรือคิดไปว่าตัว CPU จะต้องทำงานผิดปกติแน่ ๆ เพราะอาการนี้มักจะมาจากปัจจัยใกล้ตัวที่หลาย ๆ คนอาจนึกไม่ถึง
ซึ่งปัจจัยใกล้ตัวนี้ก็จะมาจากบรรดาฝุ่นในห้องที่ก่อตัวมากจนเกินไปหรือการวางตำแหน่งคอมพิวเตอร์ที่ไม่ถูกหลักอากาศไม่ถ่ายเทหรือบางทีพัดลมของคุณอาจจะเสียก็เป็นได้ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การทำงานของ CPU ร้อนจนเกินไปครับและถ้าหากมีการวัดแล้วมีความร้อนถึง 80 องศาล่ะก็เป็นไปได้เลยว่ามีฝุ่นเกาะเยอะแน่นอน
แล้วความร้อนระดับไหนถึงจะพอดีล่ะ ? คำตอบของคำถามนี้นั้นก็อาจจะไม่เป๊ะมากแต่ก็มีการกะประมาณคร่าว ๆ ว่าความร้อนของ PC ที่อยู่ในเกณฑ์พอดีควรจะอยู่ที่ 50-70 องศาไม่เกินนี้และตัวเลขที่ว่าเป็นตัวเลขสำหรับ PC ที่ไม่เคยทำ Overclock ครับ
แต่ในขณะเดียวกันถ้าหากผู้ใช้เกิดทำ Overclock แล้วล่ะก็นอกจากจะทำให้ความร้อนเพิ่มขึ้นมากแล้วมันก็จะส่งผลต่อตัว CPU ด้วยที่เสื่อมสภาพเร็วขึ้นและถ้าหากมีการปรับแต่งเช่นการเพิ่มไฟหรือเพิ่มสัญญาณนาฬิกาที่มากจนเกินไปก็อาจทำให้ CPU พังไปเลยชนิดที่ว่าเป็นการฆ่า CPU ทางอ้อมนั่นเอง
ถ้าใครอยากจะทราบว่าช่วงอุณหภูมิต่าง ๆ จะส่งผลอะไรบ้างทาง PCGAMER ก็เผยรายละเอียดออกมาดังนี้
- อุณหภูมิต่ำกว่า 60 องศา – ไม่มีอะไรผิดปกติไม่จำเป็นต้องตรวจสอบอะไร
- อุณหภูมิ 60-70 องศา – อยู่ในเกณฑ์ปกติแต่อาจจะมีฝุ่นเกาะตามช่องระบายอากาศบ้างควรตรวจสอบเป็นบางครั้ง
- อุณหภูมิ 70-80 องศา – เป็นอุณหภูมิที่อยู่ในเกณฑ์รับได้แต่ทั้งนี้ควรตรวจสอบเรื่องของฝุ่นและพัดลมอาจไม่ทำงาน
- อุณหภูมิ 80-90 องศา – เป็นอุณหภูมิที่สูงจนเกินไปซึ่งอาจมีการทำ Overclock หรือไม่มีการทำความสะอาดเป็นเวลานาน
- อุณหภูมิมากกว่า 90 องศา – เป็นอุณหภูมิที่เกิดจากการทำ Overclock ด้วยการเพิ่มไฟให้มากขึ้นซึ่งส่งผลต่อตัว CPU ได้
ถึงแม้ว่าการทำ Overclock จะมีความเสี่ยงที่ว่าแต่เราสามารถควบคุมมันได้ครับซึ่งในกรณีของการทำ Overclock แล้วอุณหภูมิที่อยู่ใน “ระยะปลอดภัย” นั้นควรจะอยู่ที่ 90 องศาแต่ทั้งนี้สามารถอนุโลมให้ไปได้สูงสุดที่ 100-110 องศาครับแต่อาจจะส่งผลต่อการทำงานในระยะยาวไปสักหน่อย
ดังนั้นเพื่อเป็นการรักษา CPU ของเราให้อยู่กันไปนาน ๆ ก็ควรจะ Overclock เพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้นเล็กน้อยประมาณ 1-3% ไม่มากไม่น้อยจนเกินไปซึ่งปริมาณแค่นั้นมันก็เพียงพอต่อการทำงานหรือเล่นเกมแล้วครับและจะให้ดีควรทำให้ความร้อนลดลงอยู่ที่ 90 ถึง 80 ได้จะยอดเยี่ยมมาก
สิ่งที่ช่วยให้ความร้อนลดลงต้องทำอย่างไรบ้างล่ะ ? ก็ไม่ยากเลยครับและถือว่าเป็นโชคดีของคนในยุคนี้ด้วยที่มีอุปกรณ์เสริมมากมายให้เลือกใช้กันได้แก่พัดลมที่ควรมีรอบสูงสักหน่อยเพราะจะทำให้การถ่ายเทอากาศได้ดีขึ้นเช่น Corsair Hydro Series H110 , Noctua NH-D15 เป็นต้น ส่วนฮีตซิงค์ก็เช่นกันที่ทำให้ความร้อนลดลงควรทำความสะอาดหรือทาซิลิโคนด้วย
ยังไม่หมดแค่นั้นการระบายความร้อนที่ดีสำหรับคนที่ทำ Overclock นั้นควรจะระบายความร้อนด้วยน้ำจะดีที่สุดเพราะจะช่วยให้อุณหภูมิลดลงได้มากแม้ว่าการใช้ระบบนี้จะแพงมีค่าใช้จ่ายสูงแต่เพื่อให้ CPU ของเราอยู่กันไปนาน ๆ มันก็คุ้มค่าที่จะลงทุนครับและเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดควรปฏิบัติตามคำแนะนำที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดครับ
จะเห็นกันแล้วนะครับว่าความร้อนสำหรับคนที่ไม่ทำ Overclock นั้นจะไม่ส่งผลร้ายแรงต่อตัว CPU แต่ในกรณีของคนที่ทำ Overclock จะตรงกันข้ามกันซึ่งต้องมีการบำรุงรักษาที่ดีและใส่ใจกับมันมากหน่อยและหวังว่าข้อมูลทั้งหมดจะเป็นประโน์แก่เพื่อน ๆ ได้บ้างนะครับ
เมื่อ CPU ร้อน ส่งผลเสียอย่างไรบ้าง By มาดามแพท
สำหรับผู้ใช้งานทั่วๆ ไป เมื่อรู้สึกว่า CPU ร้อนมาก ก็กังวลว่าคอมพิวเตอร์อาจจะเสียหายได้ ซึ่งก็ถูกต้องแล้ว เพราะความร้อนคือศัตรูตัวสำคัญของคอมพิวเตอร์ทุกๆ ประเภท มาดามแพท ผู้จัดจำหน่ายคอมพิวเตอร์จึงขอนำเสนอเกี่ยวกับความร้อนที่เกิดขึ้นใน CPU จะส่งผลอย่างไรกับคอมพิวเตอร์บ้าง
หากคอมพิวเตอร์อยู่ดีๆ ก็ดับไปเอง มีการกระตุก ทำงานช้าแบบไม่มีเหตุผล กดอะไรไม่ได้ ก็สันนิษฐานว่าอาจจะเกิดจากความร้อน ซึ่งถ้าเป็นไปได้ก็ลองหาซอฟต์แวร์ที่แสดงอุณหภูมิมาติดตั้งเพื่อเช็กอุณหภูมิให้แน่ใจว่าร้อนเกินไปหรือไม่
ซึ่งปัจจัยที่ทำให้ CPU ร้อน จนบางครั้งเครื่องร้อนและดับไปแบบดื้อๆ นั้น อาจเกิดจากเรื่องใกล้ตัว เช่น ฝุ่นที่ก่อตัวมากจนเกินไป หรือวางคอมพิวเตอร์ในมุมที่อากาศไม่ถ่ายเท หรือพัดลมอาจจะเสีย นอกจากนี้ก็จะมีสาเหตุจากสารเคมีที่ป้ายเอาไว้ไม่ถูกวิธี เป็นต้น เหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การทำงานของ CPU ร้อนจนเกินไป
ความร้อนของ CPU จะไม่เป็นปัญหาเลยหากเป็นความร้อนที่ทำงานปกติ นั่นคือความร้อนปกติจะอยู่ที่ 50-70 องศา แต่ในกรณีที่เคยผ่านการทำ Overclock มาแล้วนั้น อุณหภูมิที่อยู่ในระยะปลอดภัยนั้นควรจะอยู่ที่ 90 องศา แต่เต็มที่ได้สูงสุดที่ 100-110 องศาเท่านั้น
ระดับอุณหภูมิในช่วงต่างๆ ส่งผลอย่างไรบ้าง
– อุณหภูมิต่ำกว่า 60 องศา – ไม่มีอะไรผิดปกติ
– อุณหภูมิ 60-70 องศา – ยังปกติ แต่อาจจะมีฝุ่นเกาะช่องระบายอากาศบ้าง หรือคอมพิวเตอร์มี
การทำงานแบบเต็มประสิทธิภาพในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
– อุณหภูมิ 70-80 องศา – ยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่ควรตรวจสอบเรื่องฝุ่น พัดลม
– อุณหภูมิ 80-90 องศา – เป็นอุณหภูมิที่สูงมากๆ อาจเป็นการทำ Overclock หรือไม่ได้ทำความสะอาดเป็นเวลานาน หรือซิลิโคนอาจเสื่อมสภาพได้
– อุณหภูมิมากกว่า 90 องศา – เป็นอุณหภูมิที่เกิดจากการทำ Overclock ซึ่งอาจส่งผลต่อตัว CPU ได้
ในยุคนี้มีอุปกรณ์เสริมหลายแบบให้เลือกใช้ในการระบายความร้อน ไม่ว่าจะเป็นพัดลม หรือการระบายความร้อนด้วยน้ำ ซึ่งสำหรับคอมพิวเตอร์ที่มีการทำ Overclock นั้น ควรใช้การระบายความร้อนด้วยน้ำจะดีกว่า แต่ก็ต้องแลกกับการดูแลรักษาที่ยากกว่า
สนใจซื้อคอมพิวเตอร์แบรนด์ต่างๆ ไม่ว่าจะคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน้ตบุ๊ก สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์มาดามแพท ผู้จำหน่ายคอมพิวเตอร์แบรนด์ชั้นนำทั่วไป พร้อมให้บริการและให้คำปรึกษา
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
โทร. : 094-4596429
Line ID : @madamepat2019
อุณหภูมิ CPU/GPU เท่าไหร่คือร้อน ? 50°C, 60°C, 80°C ? : Get Smart by TT EP#38
สำหรับ Get Smart by TT Premium ในวันนี้ จะขอนำเสนอประเด็นของอุณหภูมิ CPU/GPU ซึ่งประเด็นนี้ถือเป็นหนึ่งในประเด็นที่ยังมีความเชื่อผิด ๆ อยู่อีกมากมาย และก็ยังคงมีคำถามกันเข้ามาเลือน ๆ เข้ามาตลอดเวลาอย่างเช่นว่า เล่นเกมอยู่ CPU ผม 60°C ร้อนมั๊ยครับ ? ร้อนไปไหม ? หรือใช้ซิงก์ตัวนั้นตัวนี้อยู่ อุณหภูมิ 70°C ร้อนไปหรือเปล่า ? หรือในบางกรณี มีการเข้ามาเห็นอุณหภูมิ CPU ทำงานอยู่ประมาณ 50°C ก็มีการบ่นหรือถามว่า ทำไมซีพียูตัวนี้ร้อนจัง ?
ดังนั้นวันนี้เพื่อให้หายคลางแคลงใจว่า ตกลงแล้วอุณหภูมิเท่าไหร่ จึงจะพูดได้บอกได้ว่ามันร้อน ? หากว่ามันร้อนจะเกิดอะไรขึ้น ? จะแก้ไขอย่างไร ? หรือถ้าหากเปลี่ยนฮีตซิงก์ เปลี่ยนชุดน้ำแล้ว มันช่วยอะไรเราได้บ้าง ? หรือมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ?
วิธีช่วยลดอุณหภูมิ CPU ใน Notebook บน Windows 10