น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นน้ำมันมะพร้าวทำอาหารต่างกันยังไง | น้ำมันมะพร้าวปรุงอาหาร

น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นน้ำมันมะพร้าวทำอาหารต่างกันยังไง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สังซื้อน้ำมันมะพร้าวสำหรับปรุงอาหารที่Lazada กดลิงก์ นี้ครับ
https://c.lazada.co.th/t/c.ZY6qyK?url=https%3A%2F%2Fwww.lazada.co.th%2Fproducts%2Froithai1000mli308622237s539938760.html\u0026
สังซื้อน้ำมันมะพร้าวสำหรับดื่ม ที่Lazada กดลิงก์ นี้ครับ
https://c.lazada.co.th/t/c.ZY6E5b?url=https%3A%2F%2Fwww.lazada.co.th%2Fproducts%2Fagrilife450usdacertifiedorganicextravirgincoconutoili304432604s526574106.html\u0026

คีโต
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
ลดน้ำหนัก
ลดความอ้วน

น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นน้ำมันมะพร้าวทำอาหารต่างกันยังไง

5 สุดยอดอาหาร เพิ่มภูมิต้านทาน ชะลอวัย ไกลโรค by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨‍⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]


รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”5 สุดยอดอาหาร ชะลอวัย ไกลโรค\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
5 สุดยอดอาหาร ชะลอวัย ไกลโรค
1.ขมิ้นชัน 01:05
2.ปลา 07:33
3.บรอกโคลี 12:03
4.มะขามป้อม 14:53
5.มะละกอ 17:02
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
Reference:
ขมิ้นชัน
1. Hewlings SJ, Kalman DS. Curcumin: a review of its’ effects on human health. Foods. 2017;6(10):92.
2.Sahebkar A., Serbanc M.C., Ursoniuc S., Banach M. Effect of curcuminoids on oxidative stress: A systematic review and metaanalysis of randomized controlled trials. J. Funct. Foods. 2015;18:898–909.
3.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2561 [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/New/nlem2561.PDF
ปลา
1. Raatz SK, Silverstein JT, Jahns L, Picklo MJ. Issues of fish consumption for cardiovascular disease risk reduction. Nutrients. 2013 Apr;5(4):108197.
2. Kidd PM. Omega3 DHA and EPA for cognition, behavior, and mood: clinical findings and structuralfunctional synergies with cell membrane phospholipids. Alternative medicine review. 2007 Sep 1;12(3):207.
3. Nakamura K, Nashimoto M, Okuda Y, Ota T, Yamamoto M. Fish as a major source of vitamin D in the Japanese diet. Nutrition. 2002 May 1;18(5):4156.
บร็อคโคลี่
1. SELFnutritionData know what you eat. Nutrient data for this listing was provided by USDA SR21. Broccoli, raw Nutrition Facts \u0026 Calories. [Internet]. 2018. (accessed on May 1, 2020)
Available from: https://nutritiondata.self.com/facts/vegetablesandvegetableproducts/2356/2
2.Yuan GF, Sun B, Yuan J, Wang QM. Effects of different cooking methods on healthpromoting compounds of broccoli. Journal of Zhejiang University Science B. 2009 Aug 1;10(8):580.
3. Vasanthi HR, Mukherjee S, Das DK. Potential health benefits of broccolia chemicobiological overview. Mini reviews in medicinal chemistry. 2009 Jun 1;9(6):74959.
4. National Center for Biotechnology Information. PubChem Database. Sulforaphane, CID=5350. (accessed on May 1, 2020) Available from: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/Sulforaphane
5. Conzatti A, da Silva Fróes FC, Perry ID, de Souza CG. Clinical and molecular evidence of the consumption of broccoli, glucoraphanin and sulforaphane in humans. Nutrición hospitalaria. 2015;31(2):55969.
มะขามป้อม
1. Bhandari PR, Kamdod MA. Emblica officinalis (Amla): A review of potential therapeutic applications. International Journal of Green Pharmacy (IJGP). 2012;6(4).
2. Gaire BP, Subedi L. Phytochemistry, pharmacology and medicinal properties of Phyllanthus emblica Linn. Chinese journal of integrative medicine. 2014:18.
3. Reddy VD, Padmavathi P, Paramahamsa M, Varadacharyulu NC. Amelioration of alcoholinduced oxidative stress by Emblica officinalis (amla) in rats. Indian J Biochem Biophys 2010;47:205.
4. Shivananjappa MM, Joshi MK. Influence of Emblica officinalis aqueous extract on growth and antioxidant defense system of human hepatoma cell line (HepG2). Pharm Biol 2012;50:497505.
มะละกอ
1. Adebiyi A, Adaikan PG, Prasad RN. Papaya (Carica papaya) consumption is unsafe in pregnancy: fact or fable? Scientific evaluation of a common belief in some parts of Asia using a rat model. British Journal of Nutrition. 2002 Aug;88(2):199203.
2. SELFnutritionData know what you eat. Papaya. Nutrient data for this listing was provided by USDA SR21. Papaya, raw Nutrition Facts \u0026 Calories. [Internet]. 2018. (accessed on May 1, 2020) Available from: https://nutritiondata.self.com/facts/fruitsandfruitjuices/1985/2ixzz6LCEPDgsF
3. Schweiggert RM, Kopec RE, VillalobosGutierrez MG, Högel J, Quesada S, Esquivel P, Schwartz SJ, Carle R. Carotenoids are more bioavailable from papaya than from tomato and carrot in humans: a randomised crossover study. British Journal of Nutrition. 2014 Feb;111(3):4908.
4. Rahman K. Studies on free radicals, antioxidants, and cofactors. Clinical interventions in aging. 2007 Jun;2(2):219.
5. Marotta F, Yoshida C, Barreto R, Naito Y, Packer L. Oxidativeinflammatory damage in cirrhosis: Effect of vitamin E and a fermented papaya preparation. Journal of gastroenterology and hepatology. 2007 May;22(5):697703.
DrAmpGuide หมอแอมป์ อาหาร สุขภาพดี เวชศาสตร์ชะลอวัย

5 สุดยอดอาหาร เพิ่มภูมิต้านทาน ชะลอวัย ไกลโรค by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨‍⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]

น้ำมันมะพร้าวปรุงอาหารใช้แบรนด์ไหนดี


คลิปนี้จัดทำเพื่อการเรียนผลิตสื่องานเท่านั้น มิได้ทำเพื่อการโฆษณาแต่อย่างใด.!!!

น้ำมันมะพร้าวปรุงอาหารใช้แบรนด์ไหนดี

แปลก ก๋วยเตี๋ยวตุ๋นสูตรใส่พริก!! น้ำตุ๋นสีแดงเดือด🔥 ร้านเก่าแก่สืบทอดจากรุ่นพ่อ 40 ปี ลูกค้ารุม!!🍜


ร้านเจ๊โหนก ก๋วยเตี๋ยวไก่
ขายอยู่ที่
ตรอกโรงยา ถ.ราชอุทิศ
ต.อุทัยใหม่ อ.เมือง
จ.อุทัยธานี
ขายทุกวันเวลา 09.3016.00น.
เบอร์โทรร้าน : 0932619226 ,0819721175
แผนที่⭐
เจ้โหนก ก๋วยเตี๋ยวไก่
093 261 9226
https://maps.app.goo.gl/TBjMGoaS2KE4F1wYA
……………………………………
ฝากกดติดตามเพิ่มอีก 1 ช่องด้วยนะคะ
⭐แม็กกี้ ชาแนล
(ช่องแม็ก แฟนโมเองค่ะ)
ลิงค์ช่อง👇
https://youtube.com/channel/UC16bLK9ECbjnDdnoDynaog
คลิปยอดฮิต
✅ร้านก๋วยเตี๋ยวป้าอ้อย
https://youtu.be/ErqGlp3xlEI
✅ร้านขายมะม่วงงานมรดกโลก
https://youtu.be/a3F4tkC5iVo
✅มิติใหม่ของการกินมะม่วง
https://youtu.be/N58iMWszpHs
✅ขายหอยโข่งงานมรดกโลก
https://youtu.be/N58iMWszpHs
✅ร้านข้าวไข่เจียวรวมมิตรรถเข็น
https://youtu.be/Sq4DJzQV9ik
✅ร้านอาหารตามสั่งเมนูข้าวหมา
https://youtu.be/J64Sir0cqgo
✅ร้านราดหน้าริมทางพิษณุโลก
https://youtu.be/VR0Ew848JSM

แปลก ก๋วยเตี๋ยวตุ๋นสูตรใส่พริก!! น้ำตุ๋นสีแดงเดือด🔥 ร้านเก่าแก่สืบทอดจากรุ่นพ่อ 40 ปี ลูกค้ารุม!!🍜

\”ทานน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ลดความอ้วนได้จริงหรือ ?\” : หมอแนะ : รายการคุยกับหมออัจจิมา


จากการศึกษาพบว่า ตัวไขมัน ที่อยู่ใน \”น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น\”
เป็นไขมันอิ่มตัวที่มีลักษณะโครงสร้าง ที่แตกต่างจากไขมันอิ่มตัวที่พบในไขมันจากสัตว์ หรือน้ำมันปาล์ม ไขมันของน้ำมันมะพร้าว จะมีลักษณะของกรดไขมันที่มีความยาวสายขนาดกลาง ซึ่งเจ้าไขมันตัวนี้ มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย เมื่อเรารับประทานกรดไขมันขนาดกลางนี้เข้าไป ร่างกายจะสามารถดูดซึมได้ทันที ส่งผ่านไปที่ตับ ซึ่งตับจะทำการเปลี่ยนกรดไขมันเหล่านี้เป็น \”สารคีโตน\” ซึ่งเป็นสารที่เป็นแหล่งพลังงานสำคัญของสมอง ช่วยในเรื่องของความจำ โรคอัลไซเมอร์ และช่วยในเรื่องของสมาธิได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้กรดไขมันมะพร้าว ยังมีส่วนช่วยให้ต่อมไทรอยด์ทำงานได้ดีขึ้น ส่งผลให้ระบบเผาผลาญไขมันในร่างกายทำงานได้ดีขึ้น โดยเฉพาะการเผาผลาญไขมันในช่องท้อง อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเส้นเลือดหัวใจอุดตัน รวมถึงโรคความดันโลหิตสูงตามมา แต่อย่างไรก็ตาม การรับประทาน \”น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น\” เพื่อช่วยในการลดน้ำหนัก จำเป็นที่จะต้องทำควบคู่ไปกับการควบคุมอาหารอย่างอื่น เพื่อควบคุมพลังงานที่ได้รับในแต่ละวันให้เหมาะสม
นอกจากผลของการช่วยกระตุ้นระบบเผาผลาญไขมันแล้ว กรดไขมันในมันมะพร้าว ยังสามารถช่วยให้เรารู้สึก \”อิ่มท้อง\” ได้นานขึ้น และยังมีฤทธิ์ช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราอีกด้วย ดังนั้นจึงมีการใช้น้ำมันมะพร้าวอมกลั้ว ในช่องปาก (Oil Pulling) เพื่อช่วยป้องกันฟันผุ และช่วยรักษาอาการติดเชื้อในช่องปากและลำคอ จากประโยชน์ของ \”น้ำมันมะพร้าว\” เหล่านี้ จัดเป็น Super Food ตัวนึงเลยทีเดียว
การรับประทาน \”น้ำมันมะพะร้าว\” ควรรับประทานในขณะที่ท้องว่าง เช่น ตอนเช้าหลังตื่นนอน โดยปริมาณที่แนะนำในการรับประทานคือ 2 ช้อนโต๊ะ/วัน หากใช้ในกรณี อมกลั้ว ในช่องปาก แนะนำให้ใช้ปริมาณ 12 ช้องโต๊ะ โดยอมกลั้วในช่องปาก 1520 นาที จึงค่อยบ้วนทิ้ง แล้วแปรงฟันตามอีกทีค่ะ ..
เมดดิไซด์ อัจจิมา สหคลินิก
แพทย์หญิงอัจจิมา สุวรรณจินดา
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผ่าตัดผิวหนัง มะเร็งผิวหนังและเลเซอร์ผิวหนัง
โทรศัพท์ : 029549440
Hot Line : 0899006100
Line : @medisci

• Facebook : https://www.facebook.com/Medisci
• Web site : https://www.mediscicenter.com
• Email : [email protected]
•Twitter : https://www.Twitter.com/Medisci

\

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่CUISINE

Leave a Comment