Contents
ลองนวดหน้าด้วยน้ำมันมะพร้าวติดต่อกัน 7 วัน มันดีขนาดไหนนะ | แชทแชร์
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
คลิปนี้แชทแชร์ทดลองนวดหน้าด้วยน้ำมันมะพร้าวให้ดูค่ะ นวดหน้าด้วยน้ำมันมะพร้าวติดกัน 7 วันจะเป็นยังไง
เกิดอะไรขึ้นกับผิวเราบ้าง
บอกเลยว่า พลาดไม่ได้
เพราะในน้ำมันมะพร้าวมีสารที่มีประโยชน์กับผิวเราเยอะมากกกกกกกกก
วิตามินอีเยอะมาก ช่วยเรื่องริ้วรอยและความชุ่มชื่น ฟื้นฟูผิวหน้าได้ดีมากๆเลยค่า
หาซื้อได้ง่ายมากๆด้วย
จะใช้ยี่ห้ออะไรก็ได้นะคะ ขอแค่เป็นน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นก็พอ เอามานวดหน้ารัวๆๆๆๆ 7 วันติดกัน รับรองรู้เรื่อง ผิวนุ่มมาก ผื่นหาย เป็นมอยซ์เจอไรเซอร์ชั้นดีเลยค๊าบ
0:00 Intro
0:12 day1
2:33 day2
3:57 day3
4:42 day4
5:02 day5
5:55 day6
7:17 day7
8:16 Conclusion
❥ฝาก subscribe กดกระดิ่งเป็นกำลังให้กันด้วยนะคะ
ติดตามแชทช่องทางอื่นๆได้ที่
Fb : www.facebook.com/chatsshare
Ig : @chatsshare
Twitter : @chatsshare
chatsshare แชทแชร์ สูตรมาร์คหน้า
ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
18 ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว
1. ลดระดับคอเลสเตอรอล
2. เร่งอัตราการเผาผลาญป้องกันไขมันสะสม
3. ช่วยลดน้ำหนัก
4. ไม่เปลี่ยนเป็นไขมันทรานส์
5. มีสารเป็นสารปฏิชีวนะทำลายเชื้อโรคได้
6. ย่อยง่ายเหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคถุงน้ำดี ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบย่อย
7. เป็นแหล่งของวิตามินเอช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระบำรุงผิวพรรณ
8. ไม่มีกลิ่นเหม็นนำมาใช้ปรุงอาหารได้
9. ช่วยในการดูดซึมวิตามินและเกลือแร่และกรดอะมิโน
10. ช่วยรักษาโรคปวดเมื่อยชะลอการเสื่อมตามวัย
11. ช่วยป้องกันโรคมะเร็งผิวหนัง
12. ช่วยรักษาอาการปวดกระดูก
13. ช่วยรักษาเชื้อราบนผิวหนังและร่องเล็บ
14. ช่วยแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
15. ใช้แทนครีมกันแดดช่วยแก้ปัญหาผิวไหม้จากแดด
16. ใช้สำหรับล้างแผลสดและใส่แผลสด
17. รักษาส้นเท้าแตก บำรุงส้นเท้าไม่ให้หยาบกร้าน
18. ใช้คู่กับครีมโกนหนวดใช้เช็ดล้างเครื่องสำอางค์
ทำครีมใช้เองแบบประหยัด สูตรรักษาฝ้าเร่งด่วน ฝ้าแดด ฝ้าเลือด ฝ้าลม ฝ้าหนา ฝ้าถาวร สิว ริ้วรอยจางลง
สูตรรักษาฝ้าครีมบำรุงผิวหน้าทำครีมใช้เอง
สูตรรักษาฝ้าแบบง่ายๆด้วย น้ำมันมะพร้าวสะกัดเย็น+น้ำมะนาว สูตรนี้ถ้าทำเป็นประจำจะเห็นผลได้ชัดเจนซึ้งในส่วนของน้ำมะนาว ช่วยบำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่ง สดใส (2) มีกรดผลไม้(AHA) เป็นที่ยอมรับในการช่วยเร่งการผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพออกไปอย่างอ่อนโยน (3) สำหรับคนที่เป็นสิว ฝ้า
มะนาวจะช่วยรักษาสิวให้ลดน้อยลงได้ เพราะมะนาวมีฤทธิ์เป็นกีดอ่อนๆ จะทำให้ลดอาการอุดตันรูขุมขนจากสิวและยังช่วยในการขจัดความมัน และเชื้อโรคบนใบหน้าได้ด้วย ในส่วนของน้ำมันมะพร้าวสะกัดเย็น จะช่วยให้ผิวชุ่มชื่น กระชับรูขุมขน จะทำให้ผิวหน้าใสไร้ริ้วรอย เรียบเนียน ลดเรือนริ้วรอยต่างๆ
สูตรนี้ทำได้อาทิตย์ละ23 ครั้ง ให้ทำก่อนนอน ทาแล้วนวดเบาๆบริเวณที่เป็นฝ้า หรือจะทาทั่วหน้าก็ได้
พอกทิ้งไว้ 1015 นาทีแล้วไปล้าวออก หากคลิปนี้มีประโยชน์ ฝากกดไลค์ กดแชร์ กดติดตาม กดกระดิ่ง เพื่อที่จะไม่พลาดคลิปต่อไปค่ะ ที่เราจะลงทุกวัน@คนไทย สะใภ้อิตาลี
ส่วนผสม
1 น้ำมันมะพร้าวสะกัดเย็น 1 ช้อนชา
2 น้ำมะนาว 1 ช้อนชา
น้ำมันมะพร้าวใช้แล้วหน้าใส? คนเป็นสิวก็ใช้ได้หรือไม่ |เภว๊าว
💗เป็นกำลังใจและสนับสนุนช่อง กด subscribe ให้ด้วยนะคะ 💗 ขอบคุณค่ะ 🙇♀
หวังว่าคลิปนี้จะมีประโยชน์กับเพื่อนๆนะคะ
no sponsor
🌴คนเป็นสิวผิวมันสามารถใช้น้ำมันมะพร้าวได้นะคะ แต่ต้องระวังการใช้และสังเกตการอุดตันอย่างใกล้ชิดเลยนะคะ เนื่องจากสิวอุดตันก็เป็นสาเหตุนำไปสู่สิวอักเสบตามมาได้นะคะ
🌴น้ำมันมะพร้าวประกอบด้วยสารที่มีประโยชน์ต่อผิวและสุขภาพมากมาย แต่ทั้งนี้ประสิทธิภาพของน้ำมันมะพร้าวก็ขึ้นอยู่กับสภาพผิวและปัจจัยต่าง ๆของแต่ละคน
🌴ผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ขึ้นกับหลายปัจจัยมากๆเลยนะคะ สุดท้ายแล้วขอให้เพื่อนๆเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับตัวเองนะคะ
ฝากติดตาม
Blog: https://www.bhaewow.com/
IG : https://www.instagram.com/bhaewow/
Twitter : https://twitter.com/bhaewow
Facebook : https://www.facebook.com/bhaewow/
LINE: @bhaewow ( มี @ )
Personal IG: https://www.instagram.com/inicccc_/
ติดต่องาน [email protected]
5 สุดยอดอาหาร เพิ่มภูมิต้านทาน ชะลอวัย ไกลโรค by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨⚕️ \u0026 Dr.Amp Podcast]
รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”5 สุดยอดอาหาร ชะลอวัย ไกลโรค\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
5 สุดยอดอาหาร ชะลอวัย ไกลโรค
1.ขมิ้นชัน 01:05
2.ปลา 07:33
3.บรอกโคลี 12:03
4.มะขามป้อม 14:53
5.มะละกอ 17:02
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
Reference:
ขมิ้นชัน
1. Hewlings SJ, Kalman DS. Curcumin: a review of its’ effects on human health. Foods. 2017;6(10):92.
2.Sahebkar A., Serbanc M.C., Ursoniuc S., Banach M. Effect of curcuminoids on oxidative stress: A systematic review and metaanalysis of randomized controlled trials. J. Funct. Foods. 2015;18:898–909.
3.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2561 [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/New/nlem2561.PDF
ปลา
1. Raatz SK, Silverstein JT, Jahns L, Picklo MJ. Issues of fish consumption for cardiovascular disease risk reduction. Nutrients. 2013 Apr;5(4):108197.
2. Kidd PM. Omega3 DHA and EPA for cognition, behavior, and mood: clinical findings and structuralfunctional synergies with cell membrane phospholipids. Alternative medicine review. 2007 Sep 1;12(3):207.
3. Nakamura K, Nashimoto M, Okuda Y, Ota T, Yamamoto M. Fish as a major source of vitamin D in the Japanese diet. Nutrition. 2002 May 1;18(5):4156.
บร็อคโคลี่
1. SELFnutritionData know what you eat. Nutrient data for this listing was provided by USDA SR21. Broccoli, raw Nutrition Facts \u0026 Calories. [Internet]. 2018. (accessed on May 1, 2020)
Available from: https://nutritiondata.self.com/facts/vegetablesandvegetableproducts/2356/2
2.Yuan GF, Sun B, Yuan J, Wang QM. Effects of different cooking methods on healthpromoting compounds of broccoli. Journal of Zhejiang University Science B. 2009 Aug 1;10(8):580.
3. Vasanthi HR, Mukherjee S, Das DK. Potential health benefits of broccolia chemicobiological overview. Mini reviews in medicinal chemistry. 2009 Jun 1;9(6):74959.
4. National Center for Biotechnology Information. PubChem Database. Sulforaphane, CID=5350. (accessed on May 1, 2020) Available from: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/Sulforaphane
5. Conzatti A, da Silva Fróes FC, Perry ID, de Souza CG. Clinical and molecular evidence of the consumption of broccoli, glucoraphanin and sulforaphane in humans. Nutrición hospitalaria. 2015;31(2):55969.
มะขามป้อม
1. Bhandari PR, Kamdod MA. Emblica officinalis (Amla): A review of potential therapeutic applications. International Journal of Green Pharmacy (IJGP). 2012;6(4).
2. Gaire BP, Subedi L. Phytochemistry, pharmacology and medicinal properties of Phyllanthus emblica Linn. Chinese journal of integrative medicine. 2014:18.
3. Reddy VD, Padmavathi P, Paramahamsa M, Varadacharyulu NC. Amelioration of alcoholinduced oxidative stress by Emblica officinalis (amla) in rats. Indian J Biochem Biophys 2010;47:205.
4. Shivananjappa MM, Joshi MK. Influence of Emblica officinalis aqueous extract on growth and antioxidant defense system of human hepatoma cell line (HepG2). Pharm Biol 2012;50:497505.
มะละกอ
1. Adebiyi A, Adaikan PG, Prasad RN. Papaya (Carica papaya) consumption is unsafe in pregnancy: fact or fable? Scientific evaluation of a common belief in some parts of Asia using a rat model. British Journal of Nutrition. 2002 Aug;88(2):199203.
2. SELFnutritionData know what you eat. Papaya. Nutrient data for this listing was provided by USDA SR21. Papaya, raw Nutrition Facts \u0026 Calories. [Internet]. 2018. (accessed on May 1, 2020) Available from: https://nutritiondata.self.com/facts/fruitsandfruitjuices/1985/2ixzz6LCEPDgsF
3. Schweiggert RM, Kopec RE, VillalobosGutierrez MG, Högel J, Quesada S, Esquivel P, Schwartz SJ, Carle R. Carotenoids are more bioavailable from papaya than from tomato and carrot in humans: a randomised crossover study. British Journal of Nutrition. 2014 Feb;111(3):4908.
4. Rahman K. Studies on free radicals, antioxidants, and cofactors. Clinical interventions in aging. 2007 Jun;2(2):219.
5. Marotta F, Yoshida C, Barreto R, Naito Y, Packer L. Oxidativeinflammatory damage in cirrhosis: Effect of vitamin E and a fermented papaya preparation. Journal of gastroenterology and hepatology. 2007 May;22(5):697703.
DrAmpGuide หมอแอมป์ อาหาร สุขภาพดี เวชศาสตร์ชะลอวัย
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่CUISINE