สะเองเยอ : เถิง l นาฏยศิลป์อีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น | โครงการนาฏศิลป์สร้างสรรค์

สะเองเยอ : เถิง l นาฏยศิลป์อีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

โครงการจัดการแสดงทักษะดนตรีและแสดง2 ด้านดนตรีพื้นเมืองและนาฏศิลป์
โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 แขนงวิชาดนตรีพื้นเมืองและนาฏศิลป์อีสานสาขาดนตรีและการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“เถิง” ยวงเยือนฮอด เเผ่นเพียง เซายั้ง
\”สะเองเยอ\”
ผู้สร้างสรรค์ผลงานได้เล็งเห็นถึงความสำคัญชาติพันธุ์เยอ ในพื้นที่อีสานตอนล่างซึ่งพบมากที่จังหวัดศรีสะเกษ คือพิธีกรรมแม่สะเอง ซึ่งชาวเยอได้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน คณะผู้สร้างสรรค์จึงเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ การแสดงพื้นบ้านอีสานที่สะท้อนพิธีกรรมรำสะเองและการละเล่นในพิธีกรรมในพื้นที่อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ นำเสนอ ในรูปแบบการแสดงพื้นบ้านอีสานโดยมีฐานข้อมูลในการประดิษฐ์ท่ารำโดยใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับทางด้านนาฏศิลป์อีสานใต้ สู่การสร้างสรรค์การแสดงพื้นบ้านอีสานสร้างสรรค์ชุด สะเอง เยอ
ผู้สร้างสรรค์ : สะเองเยอ
นายดลภพ แก้วบู่
นายธนโชติ ท่าดี
นายภาณุพงศ์ อุดม
นายวรัชยา ฟ้อนบำเรอ
นายอัศฆ์เดช พรมโสภา
นางสาวจันจิรา สาริศรี
นางสาวช่อผกา แก้วศรีจันทร์
นางสาวภาคิณีกานต์ พงธ์ทัตธนันชัย
เถิง สินไซ12 วงโปงลางสินไซ

สะเองเยอ : เถิง l นาฏยศิลป์อีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อบรมเชิงปฏิบัติโครงการ”นาฏศิลป์สร้างสรรค์”


อบรมเชิงปฏิบัติโครงการ”นาฏศิลป์สร้างสรรค์” วันที่ 79 เมษายน 2564 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

อบรมเชิงปฏิบัติโครงการ”นาฏศิลป์สร้างสรรค์”

สมุทรนารี thai mermaid


การแสดงศิลปนิพนธ์แนวสร้างสรรค์ชุด สมุทรนารี ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน นายรชยา นพการุณ นางสาวบุศรา ก่อเกียรติตระกูล และนางสาววศิกา บัวระพันธ์

สมุทรนารี thai mermaid

โครงการหลักสูตรระยะสั้นด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ 2-3 กันยายน 2564


โครงการหลักสูตรระยะสั้นด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ 23 กันยายน 2564
การสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ดนตรีในศตวรรษ ที่ 21 23 กันยายน 2564
วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

โครงการหลักสูตรระยะสั้นด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ 2-3 กันยายน 2564

เนียงชฺระขญม (สงวนลิขสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)


ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
นางสาวจุฑาทิพย์ จอกสูงเนิน
นางสาววชิรญา แก่นจันทร์
นางสาวภัทราภา ปัจฉิมา
นายสถิตย์พร จงมีเสร็จ
อาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัตติยา โกมินทรชาติ
อาจารย์นฤทร์บดินทร์ สาลีพันธ์
อาจารย์กรณ์ภัสสร กาญจนพันธุ์
อาจารย์วิภารัตน์ ข่วงทิพย์
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
นายธีรวัฒน์ เจียงคำ
แนวความคิด
จากการศึกษาตำนานเรื่องพระนางศีรษะผม พบว่ามีทั้งหมด 4 ตำนานคือ พระนางศรีธิดากษัตริย์ลาว พระนางศรีนางพระยาขอม พระยาศรีโคตรตะบองเพชร และตำนานพระนางศรีรำถวายเทวาลัย ซึ่งมีความสอดคล้องกันในส่วนหนึ่งของตำนานทั้ง 4 คือมีสตรีนางหนึ่งลงชำระร่างกายและสระผมที่สนามแห่งหนึ่งซึ่งสตรีผู้นั้นมีความงดงามในแบบของชาวขอม ในขณะที่พระนางกำลังชำระร่างกายอยู่ในสถานะนั้นมีผู้พบเห็นต่างชื่นชมว่านางผู้นี้มีความงดงามทั้งใบหน้าสรีระร่างกายและผมที่สวย ซึ่งจากการศึกษาตำนานดังกล่าวอยู่ในยุคบาปวนหรือพุทธศตวรรษที่ 14 17 ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเกิดแรงบันดาลใจที่จะนำเหตุการณ์ในตำนานดังกล่าวมาทำเป็นชุดการแสดง โดยการนำศิลปะ การแต่งกายและความเชื่อในยุคสมัยนั้นมาเปรียบเทียบกับตำนาน

เนียงชฺระขญม (สงวนลิขสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่OUTDOOR

Leave a Comment