ถวายพระพรชัยมงคลรัชกาลที่ 10 | คำ ถวายพระพร

ถวายพระพรชัยมงคลรัชกาลที่ 10


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร 28 กรกฎาคม 2560

ถวายพระพรชัยมงคลรัชกาลที่ 10

บทสวดมนต์ บทถวายพรพระ(พาหุง มหากา)(ซับไทย)


อานิสงส์การสวด: สร้างพุทธคุณให้เกิดในตน มีผลพ้นบ่วงมาร
ปัจจุบันมักใช้สวดต่อจากคาถาทำวัตรเช้าหรือเย็น
คำแปล \”พาหุงมหากา\” หรือ \”พุทธชัยมงคลคาถา\” มีอยู่ ๘ บท และมีความมุ่งหมายแตกต่างกันทั้งแปดบท กล่าวคือ
บทที่ ๑ สำหรับเอาชนะศัตรูหมู่มาก เช่น ในการสู้รบ
บทที่ ๒ สำหรับเอาชนะใจคนที่กระด้างกระเดื่องเป็นปฏิปักษ์
บทที่ ๓ สำหรับเอาชนะสัตว์ร้ายหรือคู่ต่อสู้
บทที่ ๔ สำหรับเอาชนะโจร
บทที่ ๕ สำหรับเอาชนะการแกล้ง ใส่ร้ายกล่าวโทษหรือคดีความ
บทที่ ๖ สำหรับเอาชนะการโต้ตอบ
บทที่ ๗ สำหรับเอาชนะเล่ห์เหลี่ยมกุศโลบาย
บทที่ ๘ สำหรับเอาชนะทิฏฐิมานะของคน
.
หากมีความผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยและขออโหสิกรรมด้วยนะคะ
ขอให้เจริญในธรรมทุกท่านคะ
.
ติดตามกันได้ที่
Youtube: http://www.youtube.com/dhammastudio
Facebook: http://www.facebook.com/dhammastudio.th
.
บทถวายพรพระ บทสวดมนต์ dhammastudio

บทสวดมนต์ บทถวายพรพระ(พาหุง มหากา)(ซับไทย)

อาศิรวาทพระบาทไท้ สยมภูวไนยวชิรราชา(รอบคัดเลือก) สงวนลิขสิทธิ์ชมรมนาฏศิลป์และดนตรีพื้นเมือง (วงแคน)


ชุดการแสดงอาศิรวาทพระบาทไท้ สยมภูวไนยวชิรราชา ชมรมนาฏศิลป์และดนตรีพื้นเมือง (วงแคน) เข้าร่วมการแข่งขันรายการ สืบสานวัฒนศิลป์แผ่นดินสยาม (รอบคัดเลือก)

อาศิรวาทพระบาทไท้ สยมภูวไนยวชิรราชา(รอบคัดเลือก) สงวนลิขสิทธิ์ชมรมนาฏศิลป์และดนตรีพื้นเมือง (วงแคน)

อีสานใต้น้อมใจภักดิ์ สืบสานวัฒนศิลป์ ทีมโกนเจา ม.ขอนแก่น โดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


การแสดงชุด \”อีสานใต้น้อมใจภักดิ์ สืบสานวัฒนศิลป์\”
ทีมโกนเจามหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การประกวดการแสดงศิลปวัฒนธรรม \”สืบสานวัฒนศิลป์ แผ่นดินสยาม\” ครั้งที่ 1 จัดโดยกองทัพบก ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม และบริษัท ปตท. จำกัด
สืบสานวัฒนศิลป์แผ่นดินสยาม
โกนเจามหาวิทยาลัยขอนแก่น

อีสานใต้น้อมใจภักดิ์ สืบสานวัฒนศิลป์ ทีมโกนเจา ม.ขอนแก่น โดยคณะศิลปกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สวดธรรมจักรกัปปวัตตนะสูคร


\” ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร \” บทสวดแรกที่พระพุทธเจ้าเทศนา
บทนี้เป็นเป็นบทสวดแรกที่พระพุทธเจ้า ได้แสดงธรรมเป็นครั้งแรก ( ปฐมเทศนา ) ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ( ปัจจุบันคือ ตำบลสารนาถ ) เมือ่วันที่ 15 ค่ำ เดือน 8 หรือ วันเพ็ญเดือนอาฬห
โดยได้แสดงธรรมโปรดเบญจวัคคีย์ทั้ง 5 ซึ่งสาระที่สำคัญคือ \” อริยสัจ \” ที่พระองค์ได้ทรงตรัสรู้ คือ การปฏิบัติให้บรรลุในทางธรรมนั้น จะต้องใช้วิธีแบบ \” มัชฌิมปฏิปทา \” หมายถึง จะต้องดำเนินทางสายกลาง ไม่ตึงหรือหย่อนจนเกินไป ทรงแนะนำให้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ตามที่ได้ทรงกำหนดไว้ คือ \” มรรค 8 \” โดยจะต้องบำเพ็ญตนให้อยู่ในศีล สมาธิ และ ปัญญา
อีกทั้งยังทรงแสดงความหมายของ \” หลักธรรมอริยสัจ 4 \” ซึ่งเป็นหนทางแห่งการดับทุกข์โดยสิ้นเชิง
ซึ่งหลักการของพระองค์ทรงปฏิเสธแบบที่นักบวชในสมัยนั้นนิยมปฏิบัติกันทั้ง 2 วิธี นั่นก็คือ การทรมานตนให้ลำบากเกินไป หรือ ปล่อยตนไปตามความใคร่ ซึ่งพระองค์ได้ทรงผ่านการทดลองมาแล้วทั้ง 2 วิธี แต่ก็หาใช่เป็นหนทางแห่งการตรัสรู้ไม่แต่อย่างใด
และเมื่อการแสดงธรรมได้จบลง โกณฑัญญะได้บังเกิดดวงตาเห็นธรรมและบรรลุเป็นพระโสดาบัน และพระพุทธเจ้าก็ได้ทรงเปล่งวาจาว่า \” อัญญาสิ วตโภ โฏณฑัญโญ \” แปลว่า โอ… โกณฑัญญะ ได้รู้แล้ว ได้สำเร็จแล้ว \”
โกณฑัญญะก็ได้ขออุปสมบทเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา และพระพุทธเจ้าก็ทรงประทานอนุญาตด้วยดำรัสรับรองว่า \” จงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด \” และพระพุทธเจ้าได้ทรงตั้งพระนามให้ว่า \” อัญญาโกณฑัญญะ \”
ดังนั้นวันนี้ ( วันเพ็ญ เดือน 8 ) จึงถือว่าเป็นวันที่สำคัญ คือ
1. เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงปฐมเทศนาเป็นครั้งแรก คือ \” ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร \”
2. เกิดปฐมสาวกคนแรก คือ ท่านอัญญาโกณฑัญญะ สดับพระธรรมเทศนา ดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเป็นพระโสดาบัน
3. เกิดพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา
4. เกิดองค์พระรัตนตรัยครบโดยบริบูรณ์ ทั้ง 3 องค์ คือ 1. พุทธรัตนะ 2. ธรรมรัตนะ 3. สังฆรัตนะ ( พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ )

สวดธรรมจักรกัปปวัตตนะสูคร

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TECHNOLOGY

Leave a Comment