Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน – ฝ่ายคลังสินค้า / store | ตัวอย่างaudit checklist คลังสินค้า | ข้อมูล เกี่ยวข้อง วัฒนธรรม ดี สำหรับ ทุกคน

Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน – ฝ่ายคลังสินค้า / store | ข้อมูลวัฒนธรรมที่ปรับปรุงใหม่.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

คุณสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: ดูที่นี่ .

Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน – ฝ่ายคลังสินค้า / store และรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้.

Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน - ฝ่ายคลังสินค้า / store
Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน – ฝ่ายคลังสินค้า / store

audit checklist ฝ่ายคลังสินค้า
audit checklist ฝ่ายคลังสินค้า

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ตัวอย่างaudit checklist คลังสินค้า.

#ISO9001 #Internalaudit #mustdoc จัดทำขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบในหน่วยงานต่างๆ แต่ละตอนจะถูกแยกออกทีละตอน ตอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารในแผนกคลังสินค้า หวังว่าเพื่อนๆ ที่ชมคลิปนี้จะนำไปใช้เพื่อเตรียมสอบทั้ง Internal Audit และ CB Audit นะครับ อย่าลืมกดติดตาม. กดกระดิ่งเพื่อไม่ให้พลาดข้อมูลดีๆ ================================================= ==== ==== เมื่อคุณกำลังมองหาวิทยากรที่ตลก พูดดี พูดดี วิทยากรตลก วิทยากรพูดจาไพเราะมาก คิดถึง Div ติดต่ออบรมออนไลน์ อบรมหลักสูตรพัฒนาองค์กร อบรมผู้บังคับบัญชา ,อบรม,อบรม,อบรมสัมมนา. ในรูปแบบที่ไม่น่าเบื่อผ่านการกระตุ้นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม iso 9001 version 2015 Thai iso 14001 version 2015 Thai what is iatf 16949 iatf 16949 vs iso9001 iatf 16949 core tools iso 45001 version 2018 ( iso 45001 Occupational Health and Health Management System) ปลอดภัย) iso 17025 เวอร์ชัน 2017 การตรวจสอบภายใน iso 9001 เวอร์ชัน 2015 (การตรวจสอบภายใน iso 9001 ) การตรวจสอบภายใน iso 14001 gmp haccp การประเมินความเสี่ยง iso 9001 การประเมินความเสี่ยง iso 45001 การประเมินความเสี่ยง 17025 ดัชนีชี้วัด kpi ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลัก การประเมินด้าน 14001 บริบท เครื่องมือหลักขององค์กรคืออะไร iatf 16949 apqp แผนควบคุมการฝึกอบรม fmea vda ยานยนต์ ppap spc คืออะไร msa การฝึกอบรม การวิเคราะห์ swot คือ qc 7 เครื่องมือ เกมไคเซ็นสำหรับการฝึกอบรม kaizen แผนปฏิบัติการโรงงานอุตสาหกรรม ทำอย่างไร bsc คือการประเมินความเสี่ยง การควบคุมเอกสาร iso 9001 ในระบบการจัดการ เหตุใด ตัวอย่างการวิเคราะห์ qcc การฝึกอบรม iso 13485 thai 5s ในโรงงาน tpm การบำรุงรักษาที่มีประสิทธิผลทั้งหมด csr คือการดำเนินการแก้ไขและความรู้ในการดำเนินการป้องกัน การจัดการ (การจัดการความรู้) การจัดการคุณภาพ การจัดการความเสี่ยง การรับรู้คุณภาพ จิตสำนึกความปลอดภัย vda6.3 การตรวจสอบกระบวนการ มาตรฐาน iso คืออะไร okr okr vs kpi ฝึกอบรมผู้ฝึกสอน 7 การสูญเสีย 8d รายงานการฝึกอบรม วิธีติดต่อ การฝึกอบรมภายใน การฝึกอบรมออนไลน์ หรือการให้คำปรึกษา สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ [email protected] หรือโทร 082-8255353.

>>ดูข้อมูลอัปเดตเพิ่มเติมได้ที่นี่: https://chewathai27.com/culture

ตัวอย่างaudit checklist คลังสินค้า – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.

#Doc #EP8 #เอกสารทตองเตรยมเพอรองรบการตรวจประเมน #ฝายคลงสนคา #store.

ISO คืออะไร,ISO,ISO9001 version 2015,ISO14001,ISO9001,Kaizen,ลีน,KPI,internal audit,KPI คือ,ไคเซ็น,IATF16949,action plan,iso14001 version 2015,iso9001:2015,document control

Must Doc EP.8 เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับการตรวจประเมิน – ฝ่ายคลังสินค้า / store

ตัวอย่างaudit checklist คลังสินค้า.

หวังว่า ความรู้ ในหัวข้อ ตัวอย่างaudit checklist คลังสินค้า นี้จะ มีประโยชน์ มาสู่คุณ ขอแสดงความนับถือ.

สิ่งน่ารู้ การตรวจประเมินสโตร์ ในอุตสาหกรรมอาหาร

ถึงแม้ว่าเราจะทำการตรวจรับวัตถุดิบ ในประเด็นด้านคุณภาพและสุขอนามัยเป็นอย่างดี แต่ไม่ว่าอย่างไรสโตร์ที่เราทำการจัดเก็บวัตถุดิบอาจเป็นแหล่งหรือสาเหตุที่ ทำให้เกิดการปนเปื้อนได้อีก การตรวจประเมินสโตร์จึงเป็นประเด็นสำคัญในการผลิตอาหารให้ปลอดภัย

ความถี่ของการ audit เท่าไหร่ดี

การตรวจรับวัตถุดิบมักกระทำต่อการขนส่งวัตถุ ดิบในแต่ละครั้ง แต่ในส่วนการตรวจประเมินสโตร์/ สถานที่จัดเก็บวัตถุดิบมักถูกกำหนดเป็นแผนการที่มีกำหนดเวลาและความถี่ไว้

ความถี่ในการตรวจประเมินขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ปัจจัยแรกคือ ธรรมชาติของวัตถุดิบที่เก็บในสโตร์ ไม่ว่าในเรื่องอายุการเก็บ และสภาวะการเก็บที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ ที่ง่ายต่อการเสื่อมสภาพง่าย มีอายุการเก็บสั้น หรือต้องการจัดเก็บอย่างพิเศษ ( ความถึ่สำหรับการตรวจสอบสโตร์ย่อมที่ความถี่มากกว่า วัตถุดิบที่ี่เสียยาก ที่ซึ่งไม่ต้องการความพิเศษ พิถีพิถันในการเก็บ) และอีกปัจจัยคือ ขนาดและประเภทโครงสร้างของสโตร์ ที่ซึ่งรวมถึงการจัดเก็บวัตถุดิบบางอย่างที่เป็นฤดูกาล

การตรวจประเมินสโตร์จัดเก็บวัตถุดิบนี้ มีวัตถุประสงค์หลักๆคือ ตรวจสอบสภาพพื้นฐานโครงสร้างของสโตร์ การควบคุมสัตว์พาหะ และสภาพของวัตถุดิบที่จัดเก็บ

วัตถุดิบ, สินค้าระหว่างกระบวนการ, สินค้าสำเร็จ ต้องได้รับการชี้บ่งให้ชัดเจนและเก็บแยกออกจากกัน

ระหว่างตรวจประเมินต้องสังเกตุอะไรบ้าง

การมีสโตร์เพื่อจัดทำการจัดเก็บนี้ มีเหตุผลเพื่อป้องกันวัตถุดิบ,สินค้า จากสภาพอากาศ สิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันไม่ีให้วัตถุดิบที่จัดหามามีการเสียหาย หรือมีการเสื่อมสลายของวัตถุดิบที่ทำการจัดเก็บ ดังนั้นประเด็นหลักที่ต้องสังเกตุระหว่างการตรวจประเมินสโตร์คือ

พื้น : พื้นควรถูกตรวจสอบเพื่อมั่นใจว่า ไม่มีความเสียหายทางกายภาพ ที่อาจจะเป็นที่หลบซ่อนของแมลงและสัตว์กัดแทะ หรือนำไปสู่การสะสมของความสกปรกซึ่งอาจเป็นการชักนำสัตว์พาหะเข้ามา หรือก่อให้เกิดสิ่งปนเปื้อนทางด้านจุลินทรีย์ผนัง : ผนังควจะถูกตรวจสอบเพื่อมั่นใจว่าผนังอยู่ในสภาพดี ไม่มีความเสียหาย หรือช่องทาง ซึ่งจะเป็นก่อให้เกิดปัญหาจากแมลงและสัตว์กัดแทะ ผนังอาคารที่เป็นผนังสองชั้น หรือมีการบุฉนวนกันความร้อนช่องว่างระหว่างผนังสามารถเป็นโพรงที่ แมลงจะเข้ามาหลบซ่อนและขยายพันธ์ในโพรงช่องว่างระหว่างผนังนี้ได้ผนัง: ผนังควรจะเรียบและปราศจากพื้วผิวที่เป็นร่องรอยเสียหาย ซึ่งอาจนำไปสู่การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ในฝุ่นที่สะสมตามร่องรอยดัง กล่าว โดยเฉพาะกรณีที่พื้นที่นั้นมีความชื้นสูงเพดาน/หลังคา: ต้องไม่ร่องรอยความเสียหายเพื่อป้องกันการเข้าถึงหรือการหลบซ่อนของแมลง สัตว์กัดแทะ หรือนก

สโตร์คือแหล่งสะสมอาหารเพื่อใช้ในการผลิตของ เรา สัตว์พาหะรวมถึงแมลงก็มีความคิดเหมือนกับเรา ดังนั้นสโตร์จึงเป็นอีักสถานที่หนึ่งที่ต้องสนใจในเรื่องการป้องกันสัตว์ พาหะ ตั้งแต่การออกแบบจนถึงการบำรุงรักษา

ระหว่างการตรวจประเมินสโตร์ ความสะอาดและการเป็นระเบียบเรียบร้อยของสโตร์ เป็นประเด็นสำคัญ หลักฐานที่สามารถพบในการแสดงว่ามีการจัดการสโตร์ไม่เหมาะสมคือ:

มีการสะสมของสิ่งปฏิกูล,ขยะ, พาเลทที่เสียหาย ไม่ว่าบริเวณภายนอก หรือทางเข้าสโตร์หรือบนพื้นหรือบางซอกบางมุมของสโตร์ภาชนะบรรจุของวัตถุดิบมีการเสียหาย หรือมีการหกรั่วไหลของผลิตภัณฑ์ในสโตร์หรือไม่ มีการนำไปเก็บแอบไว้ที่ใดที่หนึ่งเพื่อรอการจัดการในพื้นที่สโตร์หรือไม่มีการวางทับกันของพาเลทโดยวางซ้อนกัน ในลักษณะซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการเสียหายเช่น กระป๋องบุบ และถุงรั่ว เป็นต้น หรือไม่มีการจัดเก็บพาเลทบริเวณใกล้ปากทางหรือทางผ่านหรือไม่ ( ก่ิิอให้เกิดเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์พาหะต่างๆมีการวางสิ่งของ วัตถุดิบในลักษณะที่ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่รอบ มีการว่างวัตถุดิบบนพาเลทเพื่อให้สามารถทำความสะอาด ทำการตรวจสอบและสามารถทำการการควบคุมสัตว์พาหะมีวัตถุดิบที่เริ่มจะเน่าเสีย หรือมีการนำไปจัดเก็บในพื้นที่แอบในสโตร์เพื่อรอการพิจารณาหรือไม่ (โดยเฉพาะวัตถุดิบที่มีความชื้นสูงที่เริ่มเน่า)มีการสะสมของฝุ่น ผง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนภาชนะที่ใส่วัตถุปรุงแต่งรสที่เป็นผงเช่น นมผง น้ำตาลเป็นต้น หรือมีการสะสมของฝุ่นบนชั้นวางของ,ไม้ขื่อเพดาน และชิ้นส่วนโครงสร้างอื่นๆ พื้นผิวเรียบต่างๆพบร่องรอยการเจริญเติบโตของยีสต์ รา และแบคทีเรีย บนพื้น ผนัง และเพดานและโครงสร้างอื่นๆ ภายในสโตร์ประตูที่จะเข้าสู่พื้นที่การจัดเก็บ มีความเสียหายและไม่สามารถที่จะปิดสนิทได้หรือไม่ ซึ่งทำให้สัตว์พาหะต่างๆรวมถึงความชื้นสามารถเข้ามาในสโตร์ได้้พบว่าม่านพลาสติกมีความเสียหาย จนทำให้ไม่สามารถที่จะป้องกันการเข้ามาของแมลงบินต่างๆได้พบเห็นสัตว์พาหะหรือร่องรอยของสัตว์พาหะ ไม่ว่าเสียหายต่อโครงสร้างของอาคารหรือความเสียหายต่อวัตถุดิบ เช่นจากการกัดของสัตว์กัดแทะ ซากแมลงและสัตว์พาหะ อุจจาระของสัตว์พาหะพบการหกรั่วไหลของ น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเชื้อเพลิงบนพื้นในสโตร์หรือร่องรอยการรั่วไหลของน้ำมันหล่อลื่นจากรถโฟล์คลิฟพบว่าผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องใช้สโตร์เป็นทางเดินผ่าน (ส่วนมากใช้เป็นทางลัดไปสู่พื้นที่อื่นๆของโรงงาน)

เนื่องจากสโตร์มีความหลากหลายในแต่ละองค์กร ดังนั้ันองค์กรจึงควรจัดรายการตรวจสอบ (checklist) เพื่อใช้ในการตรวจประเมิน สโตร์แห้งกับสโตร์แช่แข็งมีประเ็ด็นในการตรวจประเมินไม่เหมือนกัน เช่น สโตร์ที่จัดเก็บแบบแช่เย็นหรือแช่แข็ง ผู้ตรวจประเมินต้องเน้นตรวจสอบอุณหภูิมิและเวลา เพื่อให้มั่นใจว่ามีการควบคุมเป็นไปตามมาตรฐาน ในขณะที่สโตร์แห้งเน้นที่ต้องไม่มีแหล่งความชื้นปรากฏ

เราควรใช้การตรวจประเมินสโตร เพื่อหาจุดอ่อนและทำการปรับปรุง ดังนั้นในการกำหนดช่วงเวลาการตรวจประเมินจึงต้องพิจารณา ประเด็นปัจจัยต่างๆเช่น บางช่วงเวลาสโตร์แบบแห้งอาจว่างเปล่า บางช่วงเวลาอาจเต็ม เพราะสโตร์ต้องจัดเก็บวัตถุดิบตามฤดูกาล (เช่น ลำไยแห้ง ข้าว) ซึ่งเกี่ยวข้องกับฤดูกาลในการกระจายสินค้า

ในช่วงที่สโตร์ว่าง เป็นโอกาสอันดีที่จะพบเห็นซอกอับหรือบางพื้นที่ที่ไม่มีโอากาศเห็นเมื่อ โกดังวัตถุดิบเต็ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดเก็บประเภทไซโลควรทำการตรวจสอบขณะว่างเปล่า เพื่อทำให้สามารถตรวจสอบร่องรอยของการเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งเกิดจากการติดแน่นของ dry material ที่ติดแน่นอยู่กับถัง เช่นนมผง หรือแป้งที่ติดอยที่ผิวด้านใน นอกจากไซโลแล้วอาจพบปัญหาเช่นเดียวกันในภาชนะที่เป็นถัง ที่ซึ่งด้านในอาจมีความชื้นทำให้เกิดปัญหาด้านจุลินทรีย์ ในขณะที่สโตร์ในภาวะเต็มจะพบจุดอ่่อนของการจัดการให้ได้มาตรฐานที่กำหนด (ไม่ว่าความสามารถในการทำให้อุณหภูมิได้ตามที่กำหนด หรือ การเว้นช่องว่าง การจัดวางทับซ้อน การFIFO เป็นต้น

Leave a Comment