PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) | ปัญหาการเรียนการสอน

PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
พัฒนานาโดย ทีมงาน ขับเคลื่อน PLC สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2

PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community)

วิธีพูดสอนลูกให้มีความรับผิดชอบ


อัดจาก Met107 radio 8.009.00 น. ทุก พพฤศ

วิธีพูดสอนลูกให้มีความรับผิดชอบ

10ปัญหาจากการเรียนออนไลน์ ที่ผู้ใหญ่ไม่เคยเข้าใจ เด็กไทยปวดสมอง


10ปัญหาจากการเรียนออนไลน์ ที่ผู้ใหญ่ไม่เคยเข้าใจ เด็กไทยปวดสมอง

เรียนออนไลน์วันแรกปัญหาเพียบ เว็บล่ม-สัญญาณทีวีสะดุด-สอนน่าเบื่อ-เด็กขาดอุปกรณ์


อลเวง เรียนออนไลน์วันแรกปัญหาเพียบ ตั้งแต่เว็บล่ม สัญญาณทางทีวีสะดุด ระบบการสอนน่าเบื่อ มีความผิดพลาดเยอะ ทำเด็กเรียนไม่เข้าใจ หลับ รวมถึงปัญหาเด็กไม่มีอุปกรณ์ ผู้ปกครองวอนกระทรวงศึกษาทบทวนใหม่ ห้างเปิดได้ โรงเรียนก็ควรไปได้

เมื่อวานนี้ (18 พ.ค.63) กระทรวงศึกษาธิการเปิดการเรียนการสอนแบบเรียนออนไลน์ ปรากฎว่าเกิดปัญหามากมาย จนดันแฮชแท็ก เรียนออนไลน์ ขึ้นอันดับ 1 ในทวิตเตอร์ สะท้อนปัญหา แชร์มุมความคิดของนักเรียนและผู้ปกครอง

โดยมีการแชร์ภาพบรรยากาศการเรียนออนไลน์วันแรก เริ่มเรียนเด็กนั่งตั้งใจ แต่ผ่านไปสักพักทนไม่ไหวจนเผลอหลับ หรือเด็กเล็กบางคนถูกของเล่นในบ้านดึงความสนใจไปแทน

รวมถึงเรื่องความผิดพลาดของการสอน เช่น การใช้ คะ/ค่ะ, คำถามวิชาภาษาอังกฤษที่เป็นภาพเด็กตื่นนอนมีรูปพระอาทิตย์ขึ้น แต่คำตอบคือ Good evening หรือการใช้บัตรคำของครู ที่เล็กจนมองไม่ให้

ทั้งนี้ ในประเด็นความเหลื่อมล้ำ ไม่ใช่ทุกครอบครัวที่มีอุปกรณ์พร้อม ทั้งโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ทำให้มีเด็กจำนวนมากไม่สามารถเรียนออนไลน์ หรือเรียนทางทีวีได้

ทีมข่าวลงพื้นที่ชุมชน 70 ไร่ คลองเตย ซึ่งมีกลุ่มนักเรียนจำนวนมากอาศัยในชุมชนนี้ พบว่าส่วนใหญ่พบปัญหาการเรียนออนไลน์ อย่างเช่น ครอบครัวของคุณวันดี และคุณแพงศรี ซึ่งมีลูกกำลังจะขึ้นชั้น ป.3

คุณแพงศรี คุณแม่ เล่าว่า ที่บ้านมีโน๊ตบุ๊ก 1 เครื่อง และอินเทอร์เน็ต จึงเปิดตามที่โรงเรียนแจ้งมา แต่เกิดปัญหาคือเว็บล่ม เข้าไม่ได้ แต่ทางครูก็โทรแจ้งว่าให้เข้าไปดูในยูทูปได้ โดยลูกชายตนก็เรียกเพื่อนที่อยู่ชั้นเดียวกันมาเรียนด้วย แต่ปัญหาสำคัญคือ เด็กไม่อยู่นิ่ง พ่อแม่ต้องอยู่ควบคุมดูแล และพูดย้ำจากที่ครูสอนเพื่อให้ลูกเข้าใจ ซึ่งเข้าใจบ้าง ไม่เข้าใจบ้าง เกิดปัญหาปวดหัวกันทั้งบ้าน

ด้านคุณวันดี คุณพ่อ บอกว่าการเรียนออนไลน์ก็ดี สำหรับคนที่พร้อม แต่เป็นเหมือนการผลักภาระให้ผู้ปกครอง มันเหมาะสำหรับเด็กโต อย่างลูกตนหากไม่มีพ่อแม่มานั่งคุมจะเรียนมั้ยตามธรรมชาติของเด็ก แล้วบางบ้านต้องออกไปทำงานหาเช้ากินค่ำ ใครจะมีเวลาดูแลเด็ก

คุณแพงศรี บอกอีกว่า เข้าใจว่าการเรียนออนไลน์มีประโยชน์ ในช่วงภาวะแบบนี้ แต่มันไม่ได้มีประโยชน์กับเด็กทุกคน และอยากให้กระทรวงศึกษาธิการทบทวนว่ามีช่องทางอื่นหรือไม่ เพราะเป็นเหมือนการผลักภาระให้ผู้ปกครอง และตั้งข้อสังเกตว่าห้างยังเปิดให้บริการได้ โรงเรียนจะเปิดแบบห้างได้หรือไม่ แต่ต้องจัดสรรจัดระเบียบเหมือนกับห้างจะดีกว่าหรือไม่ เพราะเด็กทุกคนก็อยากไปเรียนกับครูตามปกติ

นอกจากนี้ ในส่วนของบ้านที่ไม่มีอุปกรณ์ อย่างเช่นบ้านของน้องโอม เด็กชาย ป.5 อาศัยอยู่กับ คุณยายสมศรี อายุ 70 ปี คุณยายบอกว่า ที่บ้านไม่มีอุปกรณ์เรียนออนไลน์อะไรเลย ทีวีก็ไม่มีกล่องรับสัญญาณ เรียนไม่ได้ มีแค่มือถือยายเก่า ๆ 1 เครื่อง พ่อแม่ของน้องโอมก็ทำงานรับจ้างหาเช้ากินค่ำ จะให้หาเงินมาซื้ออุปกรณ์เพื่อรองรับการเรียนออนไลน์ก็ไม่ได้ ในตอนนี้บ้านไหนเขาก็ลำบากกันหมด ยายอยากให้ปรับการเรียนเป็นการส่งแบบฝึกหัดให้ทำและส่งครูจะดีกว่า เพราะบ้านคนที่เขาไม่มีก็ไม่มีจริง ๆ

ส่วน น้องโอม บอกว่า วันนี้ยังไม่ได้เรียนออนไลน์เหมือนเพื่อน ๆ เพราะไม่มีอุปกรณ์ ซึ่งช่วงที่ปิดเทอมน้องโอมก็ไปทำงานรับจ้างช่วยญาติขายของในช่วงเย็น ได้ค่าจ้างวันละ 100150 บาท ตอนนี้มีเงินเก็บประมาณ 2,000 บาท ก็จะเก็บไปอีกสักพัก ให้พอกับค่ามือถือที่สามารถเรียนออนไลน์ได้ และเงินซื้ออินเทอร์เน็ตด้วย หากเป็นไปได้ น้องโอมบอกว่าอยากให้เปิดเรียนปกติ เรียนที่โรงเรียนเหมือนเดิม

นอกจากนี้ ทีมข่าวยังสอบถามเด็ก ๆ ในชุมชน 70 ไร่ พบว่าเด็กส่วนใหญ่ไม่ได้เรียนออนไลน์ เพราะโรงเรียนไม่ได้สั่งให้เรียนบ้าง ไม่รู้ว่าต้องเรียนหรือไม่ และไม่มีอุปกรณ์รองรับในการเรียน และเป็นเสียงส่วนใหญ่ของเด็กว่า ไม่อยากเรียนออนไลน์ อยากเรียนที่โรงเรียน เพราะบางครั้งที่โรงเรียนเรียนกับครู ยังไม่รู้เรื่องเลย แล้วต้องมาเรียนออนไลน์กับทีวี ก็คงไม่รู้เรื่องและน่าเบื่อ

ขณะที่ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมการเรียนการสอนที่ จ.อ่างทอง ยอมรับเจอหลายปัญหา เรื่องอุปกรณ์ไม่พร้อม เรื่องการรับสัญญาณทีวี ส่วนที่เว็บล่ม เพราะนักเรียนสนใจการเรียนออนไลน์ และขอเวลา 2 สัปดาห์ ในการประเมินปัญหาทุกอย่าง

ส่วนเนื้อหาการส่งสัญญาณ เนื้อหาสาระในการเรียนไม่พบปัญหาอะไร เด็กมีความเข้าใจอย่างดีในทุกชั้นเรียน แต่มีเด็กบางกลุ่มมองว่าครูต้นแบบสอนเร็วไป หรือช้าไปบ้าง ซึ่งครูต้องเข้ามาปรับจูนความเหมาะสม เพื่อให้นักเรียนทำข้อสอบ ทำแบบฝึกหัดได้

เรื่องกล่องรับสัญญาณ กสทช. เตรียมแจก 2 ล้านกล่อง คาดจะแจกทันช่วงเปิดเทอม หากสถานการณ์โควิด19 ไม่คลี่คลาย ยังต้องเรียนอยู่บ้าน ส่วนเรื่องอินเทอร์เน็ต อาจจะมีการจ่ายค่าอินเทอร์เน็ตให้

รายละเอียดเพิ่มเติม https://ch3thailandnews.com/news/188792

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News) 19 พฤษภาคม 2563
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้ที่นี่
เรื่องเล่าเช้านี้.com : https://morningnews.bectero.com
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
Official LINE : @ruenglao

เรียนออนไลน์วันแรกปัญหาเพียบ เว็บล่ม-สัญญาณทีวีสะดุด-สอนน่าเบื่อ-เด็กขาดอุปกรณ์

สอนอย่างไรให้เข้าใจง่ายได้ใจเด็ก l พี่แมง ป.


ก่อนที่ครูจะสอนเด็กได้ ครูต้องเข้าใจเด็กก่อน
.
คุยกับพี่แมงปอ เจ้าของเพจพี่แมง ป.
กับเคล็ดลับอะไรที่ทำให้สอนเรื่อง ‘งง ๆ’
ให้เข้าใจได้แบบ ‘ง่าย ๆ’
.
ขอบคุณร้าน Slot CoWorking Space
ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการถ่ายทำในครั้งนี้ให้กับทางทีมงานนะครับ
.
🟦 กด JOIN เพื่อสมัครสมาชิก Klaoshow 👉🏻 https://bit.ly/3p2w8Uj
กด Subscribe 👉🏻 https://bit.ly/3u5JvVI เพื่อเป็นกำลังใจและสนับสนุนคลิปใหม่ๆ
🔔 กดกระดิ่งแจ้งเตือน คลิปใหม่ๆ ส่งตรงถึงคุณให้ได้รับชมก่อนใคร
ติดตาม เกลา นิสัยอันตราย ในโซเชียลอื่นๆ ได้ตามนี้เลยครับ
📌Facebook Page : https://www.facebook.com/klaoshow
📌Instagram : https://www.instagram.com/klaoshow/
📌Line OpenChat : https://bit.ly/3dhmuID
🔺 Website : https://bit.ly/2I7M5Yi
🔺 Blockdit : https://bit.ly/2Jw91RM
📞 ติดต่อโฆษณาหรือสปอนเซอร์ได้ที่
Email : [email protected]
Call : 0846459656 คุณแคท
⭐️ ติดต่อประสานงานอินฟูเอนเซอร์
Email : [email protected]
Call : 0951469056 คุณบูม
🌈สั่งซื้อสินค้าเพื่อสนับสนุนโครงการเกลา นิสัยอันตราย : https://bit.ly/3sCQHIp
ร่วมสนับสนุนโครงการเกลา 🥺 ให้อยู่คู่สังคมไทยได้อย่างยั่งยืน
💧ธนาคารกรุงไทย💧
เลขที่บัญชี 6780224332
ชื่อบัญชี โครงการเกลานิสัยอันตราย โดย น.ส.ปนัดดา ตะโยเค และน.ส.ณัฐณิชา อัศดาสุข
สารบัญเกลา
พี่แมง ป.
[00:00] ธรรมชาติของเด็กไม่ได้อยากเรียน
[00:13] ครูจะสอนดีได้อันดับแรกต้อง…
[01:13] ครูที่ดี ต้องเป็นศิษย์ที่ดีของลูกศิษย์ตัวเอง
[01:56] ครูต้องเข้าใจธรรมชาติของเด็ก
[02:44] เด็กจะเรียนอะไรแล้วมีความสุข คือ ทำให้เด็กรู้เป้าหมาย
[03:34] ความจริง+สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ จะทำให้สนุก
[04:29] คนเราชอบทำอะไรที่มีเทคนิค
[05:25] ทำการบ้านอย่างละเอียดเพื่อเข้าใจปัญหาเด็ก
[07:56] การให้ไม่ว่าจะให้อะไรก็ตาม คือ การกตัญญูกับตัวเอง
[08:14] ครูที่เคยเป็นเด็กเก่งจะสอนไม่เก่ง?
[09:17] การบริหารจัดการมีผลต่อการสอน
[10:25] ทำไมจิตวิญญาณครูถึงต้องรักการให้
[11:26] ทำไมครูต้องให้แบบไม่หวังผลตอบแทน
[12:04] การให้ไม่ใช่การทำความดี การทำความดีอาจจะไม่ใช่การให้
[13:32] ความสุขเพิ่มขึ้น แต่ความสุขของการให้มีเท่าเดิม
[14:24] ถ้าทำแล้วเจอแต่คำวิจารณ์
[15:13] แยกให้ออกระหว่างอารมณ์ลบ กับ ความเข้าใจที่เราทำอยู่คืออะไร
[15:19] ทำอย่างไรให้เด็กกล้ายกมือ
[16:15] ทำทุกอย่างให้เป็นปกติ เพื่อให้เด็กไม่อายที่จะยกมือ
[16:42] ครูต้องยอมรับความผิดพลาดของตัวเอง
[17:02] การเรียนออนไลน์มีส่วนช่วยทำให้เด็กกล้าถามมากขึ้น
[17:47] หลักที่เอามาใช้แล้วปัง
[19:35] นิสัยหาข้อมูลรอบด้านได้มาจากไหน
[20:13] พฤติกรรมการเสพสื่อมีผลต่อการสร้างนิสัย
[22:29] เปลี่ยนสื่อให้เป็นครู
[22:43] เครื่องมือเกลานิสัยที่ทำได้ง่ายที่สุด
[23:43] สมาธิ คือ ทางลัดของการสร้างนิสัย
[24:24] ทำไมเราถึงต้องเกลาตัวเองก่อน
สารบัญเกลาโดย น.ส.ศิริวรรณ จงสมจิตร

สอนอย่างไรให้เข้าใจง่ายได้ใจเด็ก l พี่แมง ป.

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TECHNOLOGY

Leave a Comment