poll talk ep.38 : หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน กับการเรียนออนไลน์ I สวนดุสิตโพล | ความ คิดเห็น ของ ผู้ ปกครอง ต่อ การ จัดการ ศึกษา

poll talk ep.38 : หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน กับการเรียนออนไลน์ I สวนดุสิตโพล


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อกรณี “หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน” กับการเรียนออนไลน์” พบประชาชนมองว่ายังไม่พร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ และการศึกษาไทยก็ยังไม่พร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์
สิ่งที่ครูกังวล คือ อุปกรณ์ไม่พร้อม อินเทอร์เน็ตช้า ผู้ปกครองกังวลว่าบุตรหลานจะไม่มีสมาธิ ขาดความกระตือรือร้น
สิ่งที่นักเรียนกังวล คือ กังวลว่าจะเรียนไม่เข้าใจ
และประชาชนมองว่าการเรียนออนไลน์นั้นผู้เรียนไม่มีสมาธิเท่าที่ควร โดยสิ่งที่อยากให้ภาครัฐ/สถานศึกษาช่วยเหลือ คือ อยากให้สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือสำหรับเรียนออนไลน์ ทั้งนี้มองว่าการเรียนออนไลน์จะกระทบต่อการศึกษาระดับชั้นปฐมวัยมากที่สุด และจะทำให้คุณภาพการศึกษาไทยแย่ลง
SuanDusitPoll สวนดุสิตโพล Dusitpoll ดุสิตโพล เรียนออนไลน์
เอื้ออารีจันทร พรพรรณบัวทอง
คำบรรยายภาษาอังกฤษ (English Subtitle) : นายนิพนธ์ ทักษิณ, นางสาวพรพรรณ บัวทอง

ติดตามผลการสำรวจของสวนดุสิตโพลได้ทาง
website : suandusitpoll.dusit.ac.th/WEB
Twitter : twitter.com/SuanDusitPoll
FB fanpage : facebook.com/suandusitpoll

poll talk ep.38 : หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน กับการเรียนออนไลน์ I สวนดุสิตโพล

ว.ช. Ep. 7 : พัฒนาการด้านการอ่าน เขียน คิดคำนวณ คิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ของผู้เรียนช่วงโควิด – 19


โรงเรียนบ้านวังน้ำขาวชนูปถัมภ์ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู นำโดย นายนิทัศน์ พลสนอง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวังน้ำขาวชนูปถัมภ์ จัดการศึกษาตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 นักเรียนไม่สามารถมาเรียนที่โรงเรียนได้ตามปกติ ทางโรงเรียนจึงได้ปรับแนวทางจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายตามความพร้อมของครู ผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อพัฒนาการด้านการอ่าน เขียน คิดคำนวณ คิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ของผู้เรียนในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 เป็นการส่งเสริมให้ครู บุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาตนเอง ศึกษาแพลตฟอร์ม สื่อดิจิทัล การประยุกต์ใช้แอปพลิเคชันเพื่อการจัดการเรียนรู้ ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ได้เอาใจใส่ผู้เรียนให้มีสมรรถนะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างต่อเนื่อง \”ลดปริมาณ แต่ไม่ลดคุณภาพ\” และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19
ขอขอบคุณวีดีโอในการจัดทำ จากคณะครูโรงเรียนบ้านวังน้ำขาวชนูปถัมถ์ ผู้ปกครอง นักเรียน
จัดทำ วีดีโอ โดย นายกิตติวินท์ จันทสี

ว.ช. Ep. 7 : พัฒนาการด้านการอ่าน เขียน คิดคำนวณ คิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ของผู้เรียนช่วงโควิด - 19

การจัดการศึกษาในยุคโควิด | รายการรอบตัวเรา


• สถานการณ์โควิด19 เป็นตัวเร่งให้เกิดการทดลองใช้และออกแบบการเรียนการสอนออนไลน์
• โควิด19 ทำให้รูปแบบการศึกษาเปลี่ยนไป เกิดการสอนควบคู่กันระหว่างการเรียนออนไลน์และในห้องเรียน
• ถอดบทเรียนการเรียนออนไลน์
ฟังรายการ https://curadio.chula.ac.th/ProgramDetail.php?id=9878
.
รายการรอบตัวเรา วันอาทิตย์ 10.3011.00 น.
รศ.ดร.สุชนา ชวนิชย์ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ประจำภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ออกอากาศวันที่ 5/7/2563 สถานีวิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz

การจัดการศึกษาในยุคโควิด | รายการรอบตัวเรา

บทบาทของครูและผู้ปกครองในการพัฒนาเด็กปฐมวัย


การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติอย่างมีชีวิตชีวา (active learning) จำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก (positive adultchild interaction) ผู้ใหญ่จึงจำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เด็กปฐมวัยรู้สึกปลอดภัย และพยายามที่จะให้กำลังใจเด็กอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเวลาที่เล่นหรือสนทนากับเด็ก ตลอดทั้งวันที่อยู่กับเด็ก คุณครูควรใช้กลยุทธ์ในการสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก (positive interaction strategies) โดยอาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีคิดและวิธีตัดสินใจของเด็กปฐมวัย ทั้งการแบ่งปันการควบคุมสถานการณ์ร่วมกับเด็ก (sharing control) การให้ความสนใจจุดแข็งของเด็ก การสนับสนุนการเล่นของเด็ก และการประยุกต์ใช้กระบวนการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ซึ่งปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบนี้จะช่วยให้เด็กกล้าแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกได้อย่างอิสระและมั่นใจ ทั้งยังช่วยให้เด็กได้มีประสบการณ์การเป็นพาร์ทเนอร์ร่วมกับผู้ใหญ่ (true partnerships) ทั้งในการเล่นและการสนทนาร่วมกัน โดยสรุป ผู้ใหญ่ควรยึดหลักการให้กำลังใจ (encouragement) และกระบวนการแก้ปัญหา (problemsolving approach) ในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทุกวันในห้องเรียน มากกว่าวิธีการที่เน้นการใช้คำชมเชย (praise) การลงโทษ (punishment) และการให้รางวัล (reward)

บทบาทของครูและผู้ปกครองในการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ข้อเรียกร้องเด็กสะท้อนปัญหาการศึกษาไทย – ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์


ข้อเรียกร้องเด็กสะท้อนปัญหาการศึกษาไทย ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ ที่ปรึกษา ศธ. อดีตผู้จัดการ สสส. อดีต ผอ.ไทยพีบีเอส สัมภาษณ์ 18 มิถุนายน 2564

ข้อเรียกร้องเด็กสะท้อนปัญหาการศึกษาไทย - ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TECHNOLOGY

Leave a Comment