Public Finance | Chapter 8 (1 of 3) | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ | ทฤษฎีต้นทุนและผลตอบแทน

Public Finance | Chapter 8 (1 of 3) | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

วีดิทัศน์คำสอนรายวิชา CL 302 502 การคลังภาครัฐ
บทที่ 8 การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์
หัวข้อ \”แนะนำการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์\”
บรรยายโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์
วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Public Finance | Chapter 8 (1 of 3) | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์

#1ไร่หายจน #เกษตรผสมผสาน #แบบพอเพียง


พื้นที่ 1 ไร่ อาจดูไม่มากมาย แต่หากวางแผนอย่างรอบคอบ เราก็จะสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ได้อย่างคุ้มค่า สามารถสร้างรายได้ และสร้างความสุขให้กับครอบครัวได้อย่างยั่งยืน ด้วยการทำ เกษตรผสมผสาน
โดยแบ่งการใช้สอยออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนสำหรับสร้างที่อยู่อาศัย
2. ส่วนสำหรับปลูกพืชผลทางการเกษตร
ขอยกตัวอย่างคุณวีรยุทธ ศรีเลอจันทร์ เกษตรกรวิสาหกิจชุมชนเพชรพิมาย จะแนะนำให้แบ่งพื้นที่ 1 งานสำหรับสร้างบ้าน และบ่อเก็บน้ำ และเหลือพื้นที่ 3 งาน สำหรับการเพาะปลูก เน้นการปลูกพืช 3 ระยะ คือ
ระยะสั้น
ระยะกลาง
และระยะยาว
– พืชระยะสั้น เป็นพืชที่ใช้ระยะเวลาการปลูกสั้นๆ เน้นเก็บไว้ทานในครอบครัว และหากมีจำนวนมากเกินความต้องการ ก็สามารถนำมาขาย เพื่อเป็นรายจ่ายในชีวิตประจำวัน แต่เนื่องจากเรามีพื้นที่น้อย จึงต้องวางแผนการปลูก เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม ราคาดี ใช้พื้นที่ทุกตารางนิ้วให้คุ้มค่า เช่น ถั่วงอก ต้นอ่อนทานตะวัน ผักบุ้งจีน กว้างตุ้ง เห็ดนางฟ้า ผักคื่นฉ่าย ผักกาดหอมหรือผักสลัด
– พืชระยะกลาง เป็นไม้ผล และผลไม้ระยะกลาง ที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการปลูก อาจเก็บผลผลิตได้ปีละ 12 ครั้ง หรือตามฤดูกาล เช่น มะนาว มะพร้าว มะละกอ กล้วย มะม่วง เป็นต้น โดยรายได้ส่วนนี้จะเก็บไว้สำหรับชำระหนี้ เป็นเงินออม หรือเป็นทุนในการซื้อเครื่องทุนแรงต่างๆ เช่น ระบบน้ำ หรือเครื่องตัดหญ้า เป็นต้นและด้วยข้อจำกัดของเนื้อที่ เราจึงต้องเน้นทำให้ผลผลิตออกในช่วงที่มีราคาแพง เช่น การปลูกมะนาวให้ออกลูกในช่วงหน้าแล้ง เดือนพฤศจิกายนเมษายน ก็จะได้ราคาที่สูงขึ้น เป็นต้น
– พืชระยะยาว เป็นกลุ่มไม้ เศรษฐกิจ ที่ต้องใช้ระยะเวลาหลายปีกว่าจะสามารถเก็บเกี่ยว หรือใช้ประโยชน์ได้ เช่น สักทอง ยางนา ไม้เต็ง ไม้แดง หรือไม้ประดู่ เป็นต้น โดยต้นไม้เหล่านี้เราจะเน้นการปลูกตามแนวเขตแดน หรือปลูกเป็นรั้ว เน้นปลูกช่วงต้นฤดูฝน ซึ่งแนวชายแดนของพื้นที่ 1 ไร้ จะมีความยาวมากถึง 160 เมตร หากเราปลูกต้นไม้ในระยะ 2 เมตร/ต้น ก็จะได้ไม้เศรษฐกิจ 80 ต้น ในช่วงระหว่างที่ไม้เศรษฐกิจเหล่านี้กำลังเติบโต พื้นที่ระหว่างต้น ก็สามารถปลูกมะละกอ พันธ์ดีแซมระหว่างกลางได้ เช่น พันธ์แขกดำ แขกนวล พันธ์ต้นเตี้ย เพชรพิมาย เป็นต้น
ในช่วงปีแรกรายได้ต่อเดือนอาจจะ เป็นหลักพันบาท แต่ในปีต่อๆไป เมื่อต้นไม้เริ่มโตขึ้น ออกดอก ออกผลมากขึ้น เราก็จะมีรายได้เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย แต่ทั้งนี้และทั้งนั้น เราควรต้องใช้ชีวิตแบบพอเพียง เรียบง่าย ไม่ใช้จ่ายเกินตัว
ข้อดีของการปลูกพืชในพื้นที่น้อย
1. สามารถดูและ และควบคุมได้ทั่วถึง
2. ไม่จำเป็นต้องใช้แรงงานเยอะ สามารถทำเองได้ภายในครอบครัว
3. เนื่องจากมีเนื้อที่จำกัด จึงต้องปลูกพืชแบบผสมผสาน มีความเสี่ยงน้อย
4. เริ่มต้นแบบเล็กๆ เมื่อได้รับผลตอบแทนที่ดี และมีประสบการณ์มากขึ้น ก็สามารถขยายเพิ่มเติมได้ง่าย

#1ไร่หายจน  #เกษตรผสมผสาน #แบบพอเพียง

การบัญชีต้นทุน 2 การตัดสินใจจ่ายลงทุน((6/8)ผลตอบแทนภายใน(Internal Rate of Return : IRR)


สอนการบัญชีต้นทุน 2(Cost Accounting II) ผู้เขียน รศ.เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ ตรงตามหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับ ปวส. สอนโดย อ.มานพ สีเหลือง สถาบันYellowการบัญชี

การบัญชีต้นทุน 2 การตัดสินใจจ่ายลงทุน((6/8)ผลตอบแทนภายใน(Internal Rate of Return : IRR)

ข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่


จำทำโดย สมาชิกนักศึกษาจากมหาลัย ราชภัฎพระนคร
นางสาว กิตติมา ซาไซ 131 นิเทศ ปี1 (คนพูด)
นางสาว ลภัสรดา​ ทิน​วัฒน์​อุดม​โชติ​ 132 นิเทศปี1 (คนพูด)
นางสาว ชไมพร พิมพ์งาม 135 นิเทศ ปี1(คนพูด)
นาย พงษธร พิลาชัย 136 นิเทศ ปี1 (คนพูด)
นางสาว อริสรา จุลเด็น 146 นิเทศ ปี1 (คนพูด)
นาย สุรชัช เชี่ยวชาญ 148 นิเทศ ปี1 (คนทำคลิป)
นางสาว นรินทร์ทิพย์ หวังทอง 164 นิเทศ ปี1 (คนพูด)

ข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่

ความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน | EP.12 | เงินทองต้องจัดการ


การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรพิจารณาก่อนตัดสินใจ เป็นข้อความที่มักได้ยินกันเป็นประจำ
มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความเสี่ยงในการลงทุนว่า..นักลงทุนควรต้องรู้จักอะไรบ้าง อะไรที่เราควรรู้ก่อนการลงทุน ไม่อยากเสี่ยง ฝากออมทรัพย์อย่างเดียวดีหรือไม่ อายุเท่าไหร่ควรลงทุนแบบไหน เพราะอะไร หาคำตอบได้ในรายการเงินทองต้องจัดการ ตอน ความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน
เงินทองต้องจัดการ วางแผนการเงิน MahidolChannel
ติดตามชม \”เงินทองต้องจัดการ\”
รายการที่จะช่วยบริหารการเงินส่วนบุคคลให้อยู่หมัด
ในฉบับ \”มนุษย์เงินเดือน\” ทุกวันพฤหัสบดี
ทาง Mahidol Channel
––––––––––––––––––––
ช่อง YouTube | Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook | http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล | https://muic.mahidol.ac.th/

ความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการลงทุน | EP.12 | เงินทองต้องจัดการ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TECHNOLOGY

Leave a Comment