VTR เก็บตก \”กีฬาชาวค่าย\” ณ ค่ายพักแรมนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 2558-2559 | ตราสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่

VTR เก็บตก \”กีฬาชาวค่าย\” ณ ค่ายพักแรมนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 2558-2559


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

VTR เก็บตก \”กีฬาชาวค่าย\” ณ ค่ายพักแรมนันทนาการ
ประจำปีการศึกษา 25582559 สพล.เชียงใหม่
ความยาว : 5.16 นาที
สร้างสรรค์VTRโดย : ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สพล.เชียงใหม่
…ค่ายพักแรมนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 25582559
จัดโดย คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่
ระหว่างวันที่ 2128 ธันวาคม 2558 (2รุ่น)…
ณ บ้านอมขูด อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่

VTR เก็บตก \

วิเคราะห์บอลวันนี้ | วันศุกร์ที่ 8ตุลาคม | \”ฟุตบอลโลก by.จอห์นบอลเต็ง”


รับทีเด็ด บอลเต็ง บอลเสต็ป
กดลิ้งค์ https://lin.ee/6gnDAj3
01.45 เช็ก v เวลส์ 00:40
01.45 ลัตเวีย v เนเธอร์แลนด์ 03:22
01.45 ตุรกี v นอร์เวย์ 06:10
01.45 ไซปรัส v โครเอเชีย 10:30
01.45 ลิกเตนสไตน์ v มาซิโดเนียเหนือ 13:16(VIP)
01.45 เยอรมนี v โรมาเนีย 16:00

บอลสเต็ป​ วิเคราะห์บอลวันนี้ทีเด็ดบอล​
ราคาบอล​ เยอรมนี เนเธอแลนด์
พรีเมียร์ลีกอังกฤษ บอลโลกโซนยุโรป บอลอังกฤษ
นอร์เวย์ ตุรกี เช็ก
มาซิโดเนีย เวลส์ โรมาเนีย
ลัตเวีย โครเอเชีย ไซปรัส
ลิกเตนสไตน์ เยอรมนีล่าสุด เนเธอร์แลนด์ล่าสุด
ตุรกีล่าสุด นอร์เวย์ล่าสุด โครเอเชียล่าสุด
โรมาเนียล่าสุด เช็กล่าสุด มาซิโดเนียล่าสุด
ทีเด็ดบอล8ตุลาคม64​ บอลสเต็ป3 บอลโลกโซนเอเชีย
สเปนลาลีกา ทีเด็ดฟุตบอล ยูฟ่าเนชันส์ลีก
สเต็ปบอล2​​​​​​​​​​​​​ บอลเต็ง2คู่ บอลเต็ง
​​​​​​​​​​​​​​​​​​​สเต็ป3เต็ง1​​​​​​​​​​​​​ ทรรศนะฟุตบอล​​​​​​​​​​​​​ สเต็ป
พรีวิวฟุตบอล​​​​​​​​​​​​​ ทีเด็ดบอลวันนี้​​​​​​​​​​​​​ สเต็ป2
วิเคราะห์บอลวันนี้​​​​​​​​​​​​​ ​บอล​สเต็ป3 วันศุกร์ที่10082021
ทีเด็ดบอลชุด​ บ้านผลบอล​​​​​​​​​​​​ บอลสเต็ป
​​​​​​​​​​​​​ทีเด็ดบอลสเต็ป​​​​ วิเคราห์บอล​ บอลโลกโซนอเมริกาใต้
​บอลสเต็ป4 บอลสเต็ป5 บอลสเต็ป6
บอลสเต็ป7 บอลสเต็ป8 บอลสเต็ป9
ทีเด็ดบอลวันนี้ บอลเต็งวันนี้ thscore
zeanstep จอนบอลเต็ง บอลทวี

วิเคราะห์บอลวันนี้ | วันศุกร์ที่ 8ตุลาคม | \

อุปกรณ์ฝึกกล้ามเนื้อขารวม


พัฒนาโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาซอฟต์แวร์ ไทยไมโครเทค ร่วมกับ สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตเชียงใหม่

อุปกรณ์ฝึกกล้ามเนื้อขารวม

ฟ้อนเทวบุตร เทวดา – ไหว้ครูวิจิตรศิลป์ มช. 2560


การฟ้อนเทวดาของล้านนานั้นเป็นการฟ้อนในจักรวาลคติของศาสนาพุทธ พราหมณ์ ฮินดู เชื่อว่าเป็นการฟ้อนสำหรับความสิริมงคล โดยผู้รำนั้นต้องร่ายรำอย่างสง่างามราวกับเป็นกายทิพย์ของเทวดาลงมาร่ายรำยังโลกมนุษย์ ประกอบกับร่ายรำกับดนตรีล้านนาอย่างนุ่มลึกฟ้อนเทวดานี้กำเนิดขึ้นจากคณะวิจิตรศิลป์ มช. สาขาศิลปะไทย รุ่นที่ 1 เป็นผู้รังสรรค์และทำการสืบสานกันรุ่นต่อรุ่นเรื่อยมา จนเป็นแรงบันดาลใจสำหรับการแสดงชุดนี้ โดย นายเกียรติก้อง ศิลปสนธยานนท์ ศิลปะไทยรุ่นที่ 22 ได้ประดิษฐ์การฟ้อนเตวบุตรเตวดาชุดนี้ขึ้นเพื่อน้อมนำมาสักการะแด่ครูศาสตร์ ครูศิลป์ทุกแขนง ในพิธีไหว้ครูวิจิตรศิลป์ 2560

ฟ้อนเทวบุตร เทวดา - ไหว้ครูวิจิตรศิลป์ มช. 2560

ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา(หญิงล้วน) ศิลปะการฟ้อนราชสำนักเชียงใหม่ ของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่


ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา เป็นกระบวนฟ้อนที่เกิดขึ้นจากพระดำริของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีที่ทรงตั้งพระทัยจะให้เป็นการฟ้อนที่แปลกไปจากการฟ้อนที่เคยมีอยู่ ดังนั้นจึงรับสั่งให้หาตัวระบำของพม่ามารำถวาย โดยทรงคิดว่า ถ้าท่ารำของพม่าสวยงามเหมาะสมก็จะดัดแปลงและนำมาผสมกับท่ารำของไทย เป็นรำพม่าแปลงสักชุดหนึ่ง จึงได้นักแสดงชายชาวพม่าและนักแสดงหญิงชาวมอญ ชื่อเม้ยเจ่งตา มารำถวายทอดพระเนตร จึงทรงรับไว้เป็นครูฝึกอยู่ระยะหนึ่ง การถ่านทอดแต่ละครั้งพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจะเสด็จมาควบคุมอย่างใกลชิดและทรงเห็นว่าท่ารำของผู้ชายไม่ค่อยน่าดูมากนัก จึงรับสั่งให้ครูฝึกผู้หญิงแสดงท่ารำของระบำพม่าที่เคยแสดงในที่รโหฐานของกษัตริย์พม่าให้ทอดพระเนตร ซึ่งทรงพอพระทัยมากจึงทรงดัดแปลงท่าฟ้อนร่วมกับครูฟ้อนชาวพม่า ชื่อสล่าโมโหย่ หรือโกโมโหย่ (เจ้าอินทนนท์ราชบุตรของเจ้าแก้วนวรัฐเรียก ปู่ชะโหย่) กลายเป็นระบำหรือฟ้อนชุดใหม่ ทรงให้ผู้ฟ้อนทั้งหมดแต่งกายเป็นกำเบ้อ หรือ ผีเสื้อ สวมใส่เสื้อผ้าถุง ติดปีกแบบนก ติดหนวดที่ศรีษะแบบผีเสื้อเป็นสีน้ำเงินให้เป็นการฟ้อนเลียนแบบพม่า เรียกว่า “เหว่ยเสี่ยนต่า” หรือ “เหว่ยเสี่ยนต่านานโบ่ง” แบบของการฟ้อนนี้มาจากราชสำนักพม่า โดยใช้เพลง “เหว่ยเสี่ยนต่า” ประกอบการฟ้อน เรียกกันแต่แรกว่า “ฟ้อนกำเบ้อ” (ผีเสื้อ) แสดงครั้งแรกในงานฉลองพระตำหนักของพระองค์ ที่สร้างขึ้นใหม่บนดอยสุเทพและจะใช้วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่บรรเลงประกอบการฟ้อน
เมื่อคราพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เสด็จเลียบมณฑลพายัพและได้เสด็จมาเสวยพระกระยาหารค่ำ พระราชชายาฯจึงได้จัดฟ้อนชุดนี้แสดงให้ทอดพระเนตร แต่ทรงเปลี่ยนเครื่องแบบจากชุดผีเสื้อ มาเป็นระบำในที่รโหฐาน ตามคำบอกเล่าเดิมจึงได้กลายเป็น “ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา” เมื่อปี พ.ศ.2469
ผู้แสดงทั้งหมดเป็นสตรีล้วน แต่งกายแบบพม่าคือนุ่งผ้าถุงแบบพม่ายาวกรอมเท้า สวมเสื้อแขนยาวชายเสื้อสั้นแค่เอวเล็กน้อยมีผ้าแพรสีต่าง ๆ คล้องคอ ชายผ้ายาวถึงระดับเข่า เกล้าผมมวยกลางศรีษะปล่อยชายลงมาข้างแก้ม มีดอกไม้สดประดับมวยผมและมีอุบะห้อยลงมากับชายผม
เพลงที่ใช้บรรเลงมีสำเนียงแบบพม่า จึงเรียกกันว่า “เพลงม่าน” แต่ชาวพม่าเรียกเพลงนี้ว่า “เพลงโยเดีย” (ไทยอยุธยา) และไม่สามารถสืบหาความเป็นมาของเพลงได้
คำร้องของเพลงประกอบการฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา จะเป็นสำเนียงพม่าแต่ชาวพม่าบอกว่าไม่ใช่ภาษาพม่า มอญก็บอกว่าไม่ใช่ภาษามอญ สันนิษฐานว่าเดิมคงเป็นภาษาพม่า แต่จากการรับช่วงสืบต่อกันมาหลายทอด จึงทำให้อักขระวิบัติกลายรูปจนเจ้าของภาษาดั่งเดิมฟังไม่เข้าใจก็อาจเป็นได้
ความสวยงามของท่ารำและเพลงร้องของฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตานี้ นับได้ว่าเป็นกระบวนการผสมผสานและประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของแบบการฟ้อนในราชสำนักของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ที่สมควรจะได้รับการถ่ายทอดและอนุรักษ์รูปแบบให้คงความถูกต้องไว้สืบทอดต่อไป

ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา(หญิงล้วน)  ศิลปะการฟ้อนราชสำนักเชียงใหม่  ของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTECHNOLOGY

Leave a Comment