คติความเชื่อ ศรัทธากับการใช้พื้นที่ | ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม

คติความเชื่อ ศรัทธากับการใช้พื้นที่


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การบรรยายหัวข้อ คติความเชื่อ ศรัทธากับการใช้พื้นที่
บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร
ผศ.ดร.อมฤต หมวดทอง

บรรยายในวันที่ 28 มิ.ย.
ในรายวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก ชั้นปีที่ 2 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม

คติความเชื่อ ศรัทธากับการใช้พื้นที่

ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย ด้านสถาปัตยกรรม


สื่อวิดีทัศน์ เรื่อง \”ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย ด้านสถาปัตยกรรม\” นี้เป็นเพียงหนึ่งของรายวิชาประวิติศาสตร์ศิลปะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ SOS4209

ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย ด้านสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมจีน 1/3 พูดคุยเรื่อง…ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม


การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมจีน ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม
บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร
ผศ.ดร.อมฤต หมวดทอง

บรรยายในวันที่ 6 ก.ย.64
ในรายวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก ชั้นปีที่ 2 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม

สถาปัตยกรรมจีน 1/3 พูดคุยเรื่อง...ประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม

การบรรยายเรื่องประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมยุคกลาง+โรมันเนสก์


เนื้อหาจะบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ สังคม แนวความคิด การก่อให้เกิดสถาปัตยกรรมสมัยยุคกลางที่ต่อมาจนมาจากการล่มสลายของอาณาจักรโรมัน ช่วงเวลานี้ศาสนาคริสตร์เป็นศาสนาที่ได้รับการนับถืออย่างแพร่หลาย ในขณะที่ทางตะวันออกเริ่มถูกผู้รุกรานจากตะวันนออกที่เป็นชาวมุสลิม ทำให้เกิดสงครามครูเสด สงครามแห่งความศรัทธาขึ้น เพื่อยึดครองพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์คือเมืองเยลูซาเล็ม ซึ่งต่อมาเมืองเยลูซาเล็กก็ตกเป็นพื้นที่ปกครองของชาวมุสลิม สังคมในยุคกลางนอกจากภัยจากสงครามแล้วนั้นช่วงปลายยังเกิดกาฬโรค ที่คร่าชีวิตผู้คนในยุโรปไปถึง 1 ใน 3 จึงถือเป็นช้วงเวลาแห่งความหวาดกลัว ที่ส่งผลไปสู่การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมเป็นอย่างมาก
สถาปัตยกรรมในยุคกลาง หรือยุคมืดจึงสะท้อนออกมาให้เห็นถึงสถาปัตยกรรมแห่งการป้องกันเป็นหลัก เช่น ป้อมปราการ กำแพงเมือง พระราชวังที่มีผนังหนา ช่องเปิดน้อย ในช่วงปลายยุคกลาง ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมแบบโรมันเนสก์ สังคมในยุโรปเริ่มสงบลงมากขึ้น การพัฒนาสถาปัตยกรรมจึงเริ่มขึ้น อาคารทึบตันเริ่มผ่อนคลายลง มีช่องเปิดมากขึ้น ซุ้มโค้งแบบโรมมันเริ่มนำกลับมาใช้อีกครั้ง แต่ก็ยังคงความหนัก Massive อยู่อย่างชัดเจน ซึ่งถือเป็นต้นแบบที่จะส่งอิทธิพลไปสู่การพัฒนาในสมัยกอธิคต่อไป
บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร วันที่ 20 ม.ค.64
ในรายวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก ชั้นปีที่ 1 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม

การบรรยายเรื่องประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมยุคกลาง+โรมันเนสก์

Ep198 คอมเมนต์ชาวฟิลิปปินส์ ฉันอิจฉาไทยแลนด์ แต่เกลียดฟิลิปปินส์ ที่พัฒนาได้ไม่เท่าไทยแลนด์


Attitude DEE คอมเมนต์ ชาวฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์อิจฉาไทยแลนด์ ฟิลิปปินส์พัฒนาไม่เท่าไทยแลนด์ ฉันอิจฉาไทยแลนด์ แต่เกลียดฟิลิปปินส์ ที่พัฒนาได้ไม่เท่าไทยแลนด์

เครดิต แหล่งข้อมูลอ้างอิง
https://www.thepromdiboyadventures.com/2015/07/7reasonswhyihatethailandbeing.html?m=1

Ep198 คอมเมนต์ชาวฟิลิปปินส์ ฉันอิจฉาไทยแลนด์ แต่เกลียดฟิลิปปินส์ ที่พัฒนาได้ไม่เท่าไทยแลนด์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTIPS

Leave a Comment