ตกเลือดแช่ยาทีซีมัยซิน 3 วัน @ บ้านปลาทอง อ่างศิลา | ยาทีซีมัยซิน

ตกเลือดแช่ยาทีซีมัยซิน 3 วัน @ บ้านปลาทอง อ่างศิลา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

จำหน่ายปลาทอง คัดตรงจากฟาร์ม
สอบถาม โทร 0806332288 Line : mink6332288

ตกเลือดแช่ยาทีซีมัยซิน 3 วัน  @ บ้านปลาทอง อ่างศิลา

สูตรยาคลอโรควิน และอะซิโทรมัยซินกับการรักษาโควิด-19 | ความจริง-โควิด | ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET


…บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ข้อสงสัย เกี่ยวกับการใช้ยาคลอโรควิน ร่วมกับยา อะซิโทรมัยชิน ในการรักษาโรคโควิด19 หืม… ชัวร์เหรอ ?
ร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงไปกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ และ ผศ.นพ.พิสนธ์ จงตระกูล อาจารย์แพทย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตรวจสอบความจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

สรุป
Q : ยาคลอโรควิน ใช้รักษาผู้ป่วยโควิด19 ได้จริงหรือ ?
A : ยาคลอโรควิน และ ไฮดรอกซีคลอโรควิน เป็นยาที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโควิด19 จริง ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข
Q : ยาคลอโรควินเมื่อใช้ร่วมกับยาอะซิโทรมัยซิน จะทำให้ผู้ป่วยหายเร็วขึ้น ?
A : มีงานวิจัยที่ประเทศฝรั่งเศสพบว่า การใช้ยาคลอโรควิน ร่วมกับ ยาอะซิโทรมัยซิน กับคนไข้ 6 คน ทำให้ไวรัสหาย 100% ภายในเวลา 56 วัน หาย ต่อมา USFDA ยินยอมให้แพทย์เป็นผู้ใช้แบบฉุกเฉินได้
Q : แต่มีอีกงานวิจัยที่ออกมาโต้แย้งงานวิจัยแรก ?
A : แพทย์ชาวฝรั่งเศสอีกกลุ่ม หาคำตอบซ้ำอีกครั้ง โดยนำคนไข้ 11 คน และให้ยาสูตรเดียวกัน ครบเวลา 56 วัน แต่จำนวนผู้ป่วยที่ไวรัสหมดไปมีเพียง 2 คนเท่านั้น ซึ่งไม่หาย 100% ตามงานวิจัยแรก
Q : การใช้ยาอะซิโทรมัยซินหรือ หยุดใช้ จะทำให้คนไข้เสียโอกาสในการรักษาไหม ?
A : ไม่ได้ทำให้ผู้ป่วยโควิด19 เสียโอกาสในการรักษาแต่อย่างใด
เพราะในการรักษาตั้งแต่ตั้น แพทย์ใช้ยามากกว่า 1 ขนาน มีการใช้ร่วมกับยาต้านเอชไอวีอยู่แล้ว ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเองว่าจะใช้ยาตัวไหน
Q : คำแนะนำสำหรับประชาชน ?
A : ประชาชนอย่าหายามาลองเอง เพราะยาคลอโรควิน มีผลทำให้คลื่นหัวใจผิดปกติได้
CoronaVirusFacts COVID19 ชัวร์ก่อนแชร์ stayhome withme

พบกันทุกวันใน ข่าวค่ำ ช่อง 9 MCOT HD
✮ หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ \”ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์\” ✮
► แอดไลน์ (LINE) : @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► เฟซบุ๊ก : https://www.facebook.com/SureAndShare
► ทวิตเตอร์ : https://www.twitter.com/SureAndShare
► อินสตาแกรม : https://instagram.com/SureAndShare
► เว็บไซต์ : https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.com

สูตรยาคลอโรควิน และอะซิโทรมัยซินกับการรักษาโควิด-19  | ความจริง-โควิด | ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET

EP.195 ยาแก้อักเสบ VS ยาปฏิชีวนะ : คุยกันเรื่องลูกๆสี่ขา ประสาหมอชัยวลัญช์


EP.195 ยาแก้อักเสบ VS ยาปฏิชีวนะ \r
: คุยกันเรื่องลูกๆสี่ขา ประสาหมอชัยวลัญช์
\r
ยาแก้อักเสบ เป็นคำติดปากคนไทยส่วนใหญ่ ที่เรามักชอบใช้เรียก ยาปฏิชีวนะ ชนิดที่เป็นแคปซูล ตัวแคปซูลเองอาจจะมี 2 สี เช่น ดำ แดง ฟ้า ขาว พอเจ็บป่วยก็มักจะไปซื้อยาแก้อักเสบมากินเอง โดยที่ก็ไม่รู้ว่า แท้ที่จริงแล้วการอักเสบมี 2 แบบ และแต่ละแบบก็ใช้ยาต่างชนิดกันออกไป อยากรู้ว่าจะใช้ยาแก้อักเสบ หรือยาปฏิชีวนะ แบบไหน ตอนไหน ติดตามรายละเอียดได้ในคลิปครับ หมอแดงมีคำตอบ…

EP.195 ยาแก้อักเสบ VS ยาปฏิชีวนะ : คุยกันเรื่องลูกๆสี่ขา ประสาหมอชัยวลัญช์

ติดเชื้อต้องกินยาฆ่าเชื้อหรือยาแก้อักเสบ การใช้ยาฆ่าเชื้อที่ถูกต้อง(ยาฆ่าเชื้อไม่ใช่ยาแก้อักเสบ)


ยาฆ่าเชื้อหรือยาปฏิชีวนะไม่ใช่ยาแก้อักเสบ
ยาปฏิชีวนะ( Antibiotic drug) เป็นยาฆ่าเชื้อใช้รักษาอาการจากการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยเชื้อโรคทำให้เกิดการอักเสบขึ้นเมื่อเชื้อโรคตายร่างกายจะฟื้นฟูการอักเสบด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง
ยาฆ่าเชื้อหรือยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ แก้ปวด หรือแก้ไข้ ไม่ได้ทำให้หายอักเสบโดยตรง
ลักษณะอาการอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรียเช่นคออักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ ไซนัสอักเสบ เหงือกอักเสบ น้ำมูกหรือเสมหะข้น ฝีหนอง ท้องเสีย กระเพาะปัสสาวะอักเสบ มดลูกอักเสบ แผลอักเสบ เป็นต้น
ตัวอย่างยาปฏิชีวนะ
เพนิซิลิน แอมพิซิลิน อะม็อๆกซซิลลิน คล็อกซาซิลลิน ไดคลอกซ่าซิลลิน เซฟฟาเล็กซิน อิริโทรมัยซิน ร็อกซิโทรมัยซิน อะซิโทรมัยซิน คลาริโทรมัยซิน เตตร้าไซคลิน ด็อกซี่ไซคลิน คลินดามัยซิน นอร์ฟลอกซาซิน โอฟล็อกซาซิน ไซโปรฟลอกซาซิน ลีโวฟล็อกซาซิน
ยาแก้อักเสบไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อและยาฆ่าเชื้อไม่ใช่ยาแก้อักเสบ
ทุกครั้งที่จะซื้อยาควรแจ้งอาการหรือสาเหตุของอาการให้ชัดเจนเพื่อให้ได้รับยาที่ถูกต้องเหมาะสม
เมื่อใดที่รู้สึกปวดบวมแดงร้อนหน้าแสดงว่ามีการอักเสบเกิดขึ้น
อาการอักเสบมี 2 ลักษณะ
1 อาการอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ
เมื่อร่างกายเกิดการติดเชื้อจะแสดงอาการอักเสบเช่นปวดบวมแดงร้อนมีไข้แพทย์จะให้รับประทานยาที่จัดการกับต้นเหตุที่ทำให้เกิดการอักเสบคือยาฆ่าเชื้อเมื่อเชื้อโรคตายหมดอาการอักเสบก็หายไปจึงทำให้มีการเข้าใจผิดคิดว่ายาฆ่าเชื้อ(Antibiotic drug)คือยาแก้อักเสบ
2 อาการอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อเช่นการบาดเจ็บกล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก จากการยกของหนักหรือออกกำลังกาย เมื่อร่างกายรับรู้ว่ามีการเจ็บปวดเกิดขึ้นจะหลั่งสารกระตุ้นความเจ็บปวดทำให้เกิดการอักเสบขึ้น ยาที่ช่วยบรรเทาอาการอักเสบคือยาที่จะไปยับยั้งสารกระตุ้นความเจ็บปวดนั้นๆ เรียกยาประเภทนี้ว่ายาแก้อักเสบ(antiinflammatory drug)
ยาแก้อักเสบ antiinflammatory drug ใช้บรรเทาอาการอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ ตัวยาจะออกฤทธิ์ลดการอักเสบลดไข้ บรรเทาปวด ลดอาการบวมแดง ไม่สามารถใช้รักษาอาการอักเสบจากการติดเชื้อได้
ลักษณะอาการอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อเช่น คออักเสบ อักเสบ กล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งอาการอักเสบที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุในการทำงาน หรือเล่นกีฬา อาการปวดประจำเดือน ปวดฟัน เป็นต้น
ตัวอย่างยาแก้อักเสบ ยาแก้อักเสบกลุ่ม NSAIDs nonsteroidal antiinflammatory drug
Aspirin Ibuprofen ไดโคลฟีแนคโซเดียม ไดโคลฟีแนคโพแทสเซียม ไพรอกซิแคม Naproxen Meloxicam Mefenamic
การใช้ยาปฏิชีวนะ Antibiotic drug
1 ใช้ยาปฏิชีวนะให้เหมาะสมและตรงกับอาการหรือชนิดของโรคที่จะรักษา
2 ใช้ยาปฏิชีวนะให้ครบตามปริมาณในขณะที่เหมาะสม
3 ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานควรรับประทานอย่างต่อเนื่องเมื่อหายสนิทแล้วให้รับประทานต่ออีก 12 วันเพื่อป้องกันการดื้อยา
การใช้ยาแก้อักเสบ Antiinflammatory drug
1 ยาแก้อักเสบมักระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร ควรรับประทานยาหลังอาหารทันที และดื่มน้ำตามมากๆ
2 ยาแก้อักเสบมักใช้เพื่อบรรเทาอาการเท่านั้น เมื่อหายจากอาการอักเสบ และอาการปวดให้หยุดยาทันที
สิ่งที่จะต้องแจ้งก่อนซื้อยาทุกชนิด
1 อาการ แจ้งให้ละเอียดชัดเจน
2 ประวัติการแพ้ยา
3 โรคประจำตัว
4 การตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
อ้างอิง
คลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน

ติดเชื้อต้องกินยาฆ่าเชื้อหรือยาแก้อักเสบ  การใช้ยาฆ่าเชื้อที่ถูกต้อง(ยาฆ่าเชื้อไม่ใช่ยาแก้อักเสบ)

นั่งข้างบ่อ ep12 การใช้ยาเตรตร้าไซคลิน/ยาปฏิชีวนะ กับปลาทอง


เพื่อความบันเทิงและสาระ

นั่งข้างบ่อ ep12 การใช้ยาเตรตร้าไซคลิน/ยาปฏิชีวนะ กับปลาทอง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่OUTDOOR

Leave a Comment