Contents
พระราชพิธีสถาปนาเจ้าชายอากิชิโนะมกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น 8 พ.ย 2020ณ พระราชวังหลวง กรุงโตเกียวญี่ปุ่น
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ในการพระราชพิธีสถาปนาพระรัชทายาท เจ้าชายอากิชิโนะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น ขึ้นเป็นพระรัชทายาทสืบราชสันตติวงศ์แห่งพระราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ จัดขึ้น ณ ท้องพระโรงมัตสึโนมะ ในพระราชวังหลวง กรุงโตเกียว
เจ้าชายอากิชิโนะ มกุฎราชกุมาร ทรงฉลองพระองค์ชุดโอนิโฮะ ฉลองพระองค์สำหรับพระรัชทายาทโดยเฉพาะสำหรับพระราชพิธีสำคัญต่างๆ สีส้มแดงสกัดมาจากดอกพุดซ้อนและดอกคำฝอย นำมาซึ่งสัญลักษณ์ของอาทิตย์อุทัย ซึ่งสีนี้เป็นสีต้องห้ามเช่นกัน โดยสงวนไว้สำหรับพระรัชทายาทเท่านั้น
เมื่อฉลงพระองค์บรมราชภูษิตาภรณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดินั้น ได้ริเริ่มขึ้นในยุคเฮอันตอนต้น ซึ่งสันนิษฐานว่าเดิมทีนั้นเป็นฉลองพระองค์สีขาว ก่อนจะได้รับอิทธิพลมาจากจีนในเรื่องของความเชื่อในเรื่องสี อย่างไรก็ตาม ต้นกำเนิดของฉลองพระองค์นี้อาจเก่าแก่กว่านั้น โดยมีการใช้สีนี้สำหรับพระราชวงศ์ฝ่ายหน้าชั้นสูงนับตั้งแต่ยุคนาระ
ขณะที่เจ้าหญิงอากิชิโนะ มกุฎราชกุมารี ทรงฉลองพระองค์โคอุชิกิ เป็นฉลองพระองค์กึ่งทางการ เป็นฉลองพระองค์สำหรับพระราชวงศ์และชุดสำหรับสตรีชั้นสูงนับตั้งแต่ยุคเฮอัน เสมือนเสื้อคลุมปกฉลองพระองค์ข้างในที่เรียกว่านากะบากามะ พร้อมกับ “โอสุเบรากาชิ” วิกพระเกศารวบไปข้างหลัง แบบเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดินีมาซาโกะ
The \”Rikkoshi no Rei\” Ceremony was held to declare His Imperial Highness Crown Prince Akishino as the first in line of succession to the Chrysanthemum throne at the MatsunoMa Throne Hall in the Imperial Palace in Tokyo.
His Imperial Highness Crown Prince Akishino wears the “OuninoHo”, the Sokutai traditional dress worn by the heir to the throne during the various ceremonies. The colour is dyed with gardenia jasminoides and safflower, and symbolizes the rising sun. The colour is also used only for the Crown Prince and is forbidden to the public use.
While the Kourozen no Goho, the Emperor’s costume was introduced in the early Heian Period (it is presumed that the emperor’s garment before that was white), whereas it originated in Chinese influence in Japan. The OuninoHo’s origin is even older, the colour was stipulated during the Nara period for the imperial princes.
Her Imperial Highness Crown Prince Akishino wears the Kouchiki, covering the inner cloth called Nagabakama with a unique hairstyle called \”Osuberakashi\”, same pattern as Empress Masako.
「立皇嗣宣明(りっこうしせんめい)の儀」が挙行され、秋篠宮さまが皇位継承順位1位の「皇嗣」となられたことが内外に示された。
秋篠宮さまは「黄丹袍(おうにのほう)」と呼ばれる束帯を身にまとった。黄丹袍とは皇太子と皇嗣が儀式の際に着用する束帯装束の袍のことである。この名前は梔子(くちなし)と紅花(べにばな)で染めた色名の黄丹からである。黄丹の色は昇る旭日を象徴したものでもあり、皇太子以外使用することができない色で禁色であった。
天皇が着用した黄櫨染御袍は中国の赭黄袍を起源として平安時代初期に導入された(それ以前の天皇の袍は白色であったと推定されている)のに対し、黄丹色の日本での起源はさらに古く、奈良時代の『養老律令』の「衣服令」において皇太子の礼服(らいふく)と朝服の「衣」の色と規定されている。
秋篠宮妃紀子さまは、左右の側頭部のびんを大きく膨らませた「大垂髪」と呼ばれる独特な髪形で、小袿(こうちぎ)を羽織り、長袴(ながばかま)姿だった。
Courtesy: Hisashi Hashimoto, RWT via FNN
ชีวิตรูหนูในเมืองศิวิไลซ์ | ร้อยเรื่องรอบโลก EP39
ฮ่องกงคือหนึ่งในเมืองที่มีสัดส่วนประชากรต่อพื้นที่หนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยอัตราเฉลี่ย 6,936 คนต่อ 1 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีที่ดินแพงที่สุดอีกด้วย ซึ่งทำให้ราคาอสังหาริมทรัพย์ของที่นี่สูงลิบลิ่วตาม
เมื่อความต้องการด้านที่อยู่อาศัยมีมากกว่าจำนวนห้อง ภาพที่เห็นคือผู้คนส่วนใหญ่จำต้องใช้ชีวิตแออัดยัดเยียดอยู่ในห้องแคบๆ ที่บางห้องแคบไม่ต่างจากโลงศพ
_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
ติดตามชมวิดีโอใหม่ๆ ได้ใน “เล่าเรื่องรอบโลก by กรุณา บัวคำศรี“
แล้วอย่าลืมกด Subscribe!
หรือแวะมาทักทายพูดคุยกันได้ที่
Facebook: https://www.facebook.com/KarunaBuakamsri
Email: [email protected]
เรื่องราวที่โลกจารึก ของกษัตริย์แห่งภูฏาน ด้วยคำมั่นสัญญาที่ทรงให้ไว้กับเด็กสาว 7 ขวบ
เรื่องราวที่โลกจารึก ของกษัตริย์แห่งภูฏาน ด้วยคำมั่นสัญญาที่ทรงให้ไว้กับเด็กสาว 7 ขวบ
เป็นอีกพระมหากษัตริย์ที่ทรงเดินรอยตามพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สำหรับสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก หรือ กษัตริย์จิกมี แห่งราชอาณาจักรภูฏาน พระองค์ทรงมีพ่อหลวงรัชกาลที่ 9 เป็นแบบอย่าง ทรงมุ่งมั่นพัฒนาประเทศด้วยแนวทางคล้ายกับในหลวงรัชกาลที่ 9 ของปวงชนชาวไทย
โดยพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เห็นได้ชัดว่า พระองค์ทรงตามรอยในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงงานหนัก ทุ่มเท ทั้งพระราชหฤทัย และพระวรกาย อีกทั้งพระองค์ทรงรักในหลวงรัชกาลที่ 9 ไม่ต่างจากพสกนิกรชาวไทย
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก : siamnews.com
https://www.siamnews.com/view30375.html
กษัตริย์แห่งภูฏาน กษัตริย์จิกมี
เปิดประสบการณ์เที่ยวแบบเต็มอิ่มที่ประเทศภูฏานกับลีลาวดีฮอลิเดย์ EP1 | ลีลาวดีฮอลิเดย์
bhutan
ลีลาวดี ฮอลิเดย์ บริษัททัวร์พรีเมียม ดูแลคุณอย่างอบอุ่นในทุกเรื่องของการเดินทาง ที่พัก อาหาร การบริการ ด้วยลีลาในแบบ คุณนิรุตติ์ ศิริจรรยา วันนี้พาทุกท่านไปเปิดประสบการณ์เที่ยวแบบเต็มอิ่มที่ประเทศภูฏาน เริ่มต้นที่ …
National Memorial Chorten อนุสรณ์สถานทิมพู อนุสรณ์สถานแห่งชาติ เป็นสถาปัตยกรรมแบบภูฏาน สร้างขึ้นในปี 1974 เพื่อถวายพระเกียรติ แด่กษัตริย์รัชกาลที่ 3 ของภูฏาน ซึ่งเป็นจุดสังเกตอันโดดเด่นด้วยยอดทรงกรวยสีทอง ภายในมีพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ มีรูปปั้นของท่านคุรุ รินโปเช, รูปปั้นของซับดรุง งาวังนัมเกล (ผู้รวบรวมภูฏานเป็นหนึ่งเดียว) และภายในชั้นสอง มีพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 9 อยู่ด้วย ภายในท่านจะได้ซึมซับบรรยากาศของชาวเมือง ทั้งคนหนุ่มสาวจนถึงคนสูงอายุที่มีวัฒนธรรมภูฏานยึดเหนี่ยวด้วยศาสนาและสถาบัน พระมหากษัตริย์
SIMPLY BHUTAN MUSEUM พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านของชาวภูฏาน นำท่านเรียนรู้วิถีชีวิตแบบพื้นบ้านของชาวภูฏาน ตั้งแต่การทำสร้างบ้าน ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ บุกเข้าไปถึงในครัวแบบพื้นบ้าน ดูวิถีชีวิต การประกอบอาชีพ การถนอมอาหาร รวมถึงสนุกกับกิจกรรมการยิงธนูซึ่งเป็นกีฬาประจำชาติ ที่ชายชาวภูฏานทุกคนต้องยิงธนูเป็น
ROYAL TAKIN PRESERVE ศูนย์อนุรักษ์ทาคินสัตว์ประจำชาติของภูฏาน เป็นสัตว์หายาก มีลักษณะคล้ายวัวผสมแพะ ตัวใหญ่ (มีตัวเป็นตัว หัวเป็นแพะ) มีเขา ขนตามตัวสีดำ เท้ามีกีบใหญ่ เหมาะกับการเดินทางลุยหิมะได้อย่างสบาย มักจะอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในป่าโปร่ง บนความสูงกว่า 2,000 – 4,000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลขึ้นไป พบอยู่ในเขตทิเบต และ ภูฏานเท่านั้น
TashicHho dzong ทาชิโช ซอง หรือ ทิมพู ซอง ในสมัยโบราณ ซอง มีความหมายว่าป้อมปราการ เอาไว้ปกป้องรักษาเมืองจากศัตรู และยังเป็นศูนย์รวมอำนาจในยุคแรกๆ อีกด้วย ซึ่งต่อมาวัตถุประสงค์ของซอง ได้เปลี่ยนไป เป็นทั้งสถานที่ตั้งของสำนักราชเลขาธิการ สถานที่ว่าราชการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง และทางทิศใต้ ยังเป็นเขตสังฆาวาส อีกด้วย เรียกได้ว่า เป็นทั้งวัง และ วัด อยู่ในบริเวณเดียวกัน
เมืองหลวงย่านการค้า ประเทศภูฏาน 240757
รายการที่นี่ไทยพีบีเอส ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
ออกอากาศทุกวัน จันทร์ ศุกร์ เวลา 21.15 น.
เสนอแนะ ติชม ได้ที่ facebook รายการที่นี่ไทยพีบีเอส
http://www.facebook.com/teeneethaipbs
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TIPS