Contents
สะเองเยอ : เถิง l นาฏยศิลป์อีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
โครงการจัดการแสดงทักษะดนตรีและแสดง2 ด้านดนตรีพื้นเมืองและนาฏศิลป์
โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 แขนงวิชาดนตรีพื้นเมืองและนาฏศิลป์อีสานสาขาดนตรีและการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“เถิง” ยวงเยือนฮอด เเผ่นเพียง เซายั้ง
\”สะเองเยอ\”
ผู้สร้างสรรค์ผลงานได้เล็งเห็นถึงความสำคัญชาติพันธุ์เยอ ในพื้นที่อีสานตอนล่างซึ่งพบมากที่จังหวัดศรีสะเกษ คือพิธีกรรมแม่สะเอง ซึ่งชาวเยอได้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน คณะผู้สร้างสรรค์จึงเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ การแสดงพื้นบ้านอีสานที่สะท้อนพิธีกรรมรำสะเองและการละเล่นในพิธีกรรมในพื้นที่อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ นำเสนอ ในรูปแบบการแสดงพื้นบ้านอีสานโดยมีฐานข้อมูลในการประดิษฐ์ท่ารำโดยใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับทางด้านนาฏศิลป์อีสานใต้ สู่การสร้างสรรค์การแสดงพื้นบ้านอีสานสร้างสรรค์ชุด สะเอง เยอ
ผู้สร้างสรรค์ : สะเองเยอ
นายดลภพ แก้วบู่
นายธนโชติ ท่าดี
นายภาณุพงศ์ อุดม
นายวรัชยา ฟ้อนบำเรอ
นายอัศฆ์เดช พรมโสภา
นางสาวจันจิรา สาริศรี
นางสาวช่อผกา แก้วศรีจันทร์
นางสาวภาคิณีกานต์ พงธ์ทัตธนันชัย
เถิง สินไซ12 วงโปงลางสินไซ
อบรมเชิงปฏิบัติโครงการ”นาฏศิลป์สร้างสรรค์”
อบรมเชิงปฏิบัติโครงการ”นาฏศิลป์สร้างสรรค์” วันที่ 79 เมษายน 2564 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สมุทรนารี thai mermaid
การแสดงศิลปนิพนธ์แนวสร้างสรรค์ชุด สมุทรนารี ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน นายรชยา นพการุณ นางสาวบุศรา ก่อเกียรติตระกูล และนางสาววศิกา บัวระพันธ์
โครงการหลักสูตรระยะสั้นด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ 2-3 กันยายน 2564
โครงการหลักสูตรระยะสั้นด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ 23 กันยายน 2564
การสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ดนตรีในศตวรรษ ที่ 21 23 กันยายน 2564
วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา
เนียงชฺระขญม (สงวนลิขสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
นางสาวจุฑาทิพย์ จอกสูงเนิน
นางสาววชิรญา แก่นจันทร์
นางสาวภัทราภา ปัจฉิมา
นายสถิตย์พร จงมีเสร็จ
อาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัตติยา โกมินทรชาติ
อาจารย์นฤทร์บดินทร์ สาลีพันธ์
อาจารย์กรณ์ภัสสร กาญจนพันธุ์
อาจารย์วิภารัตน์ ข่วงทิพย์
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
นายธีรวัฒน์ เจียงคำ
แนวความคิด
จากการศึกษาตำนานเรื่องพระนางศีรษะผม พบว่ามีทั้งหมด 4 ตำนานคือ พระนางศรีธิดากษัตริย์ลาว พระนางศรีนางพระยาขอม พระยาศรีโคตรตะบองเพชร และตำนานพระนางศรีรำถวายเทวาลัย ซึ่งมีความสอดคล้องกันในส่วนหนึ่งของตำนานทั้ง 4 คือมีสตรีนางหนึ่งลงชำระร่างกายและสระผมที่สนามแห่งหนึ่งซึ่งสตรีผู้นั้นมีความงดงามในแบบของชาวขอม ในขณะที่พระนางกำลังชำระร่างกายอยู่ในสถานะนั้นมีผู้พบเห็นต่างชื่นชมว่านางผู้นี้มีความงดงามทั้งใบหน้าสรีระร่างกายและผมที่สวย ซึ่งจากการศึกษาตำนานดังกล่าวอยู่ในยุคบาปวนหรือพุทธศตวรรษที่ 14 17 ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเกิดแรงบันดาลใจที่จะนำเหตุการณ์ในตำนานดังกล่าวมาทำเป็นชุดการแสดง โดยการนำศิลปะ การแต่งกายและความเชื่อในยุคสมัยนั้นมาเปรียบเทียบกับตำนาน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่OUTDOOR