การพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม (กรณีศึกษา)(โดย ผศ.ดร.สุดารัตน์ สกุลคู) | การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน

การพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม (กรณีศึกษา)(โดย ผศ.ดร.สุดารัตน์ สกุลคู)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม (กรณีศึกษา) โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID19) สกลนคร

การพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม (กรณีศึกษา)(โดย ผศ.ดร.สุดารัตน์  สกุลคู)

เรื่องของเมือง – 05 การมีส่วนร่วมในการพัฒนาทุกภาคส่วนและการจัดกิจกรรม


TruePlookpanya Channel ทรูวิชั่นส์ 37 : ช่องความรู้ดูสนุก
หนึ่งในสิ่งดี ๆ เพื่อสังคม โดยบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
Website : http://www.trueplookpanya.com/new/tv_live/
Facebook : https://www.facebook.com/TrueplookpanyaChannel
TruePlookpanyachannel

เรื่องของเมือง - 05 การมีส่วนร่วมในการพัฒนาทุกภาคส่วนและการจัดกิจกรรม

การมีส่วนร่วมของชุมชนคืออะไร ความหมาย ความสำคัญและปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ


การมีส่วนร่วมของชุมชน หรือ Community Participation หมายถึง การที่ประชาชนหรือสมาชิกมีส่วนในการคิด วิเคราะห์ วางแผน และดำเนินการ รวมทั้งติดตามประเมินผลและร่วมรับผลประโยชน์ ซึ่งการมีส่วนร่วมนี้ถือเป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนหรือองค์กร คือเมื่อสมาชิกมีส่วนร่วมแล้ว ย่อมนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการและเกิดความยั่งยืน
การมีส่วนร่วมแบ่งได้ 5 ระดับ คือ
ระดับที่ 1. to inform เป็นระดับของการมีส่วนร่วมต่ำที่สุด ประมาณ ไม่เกิน 10% เป็นการมีส่วนร่วมในการรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร โดยกิจกรรมที่ทำอาจเป้นการเชิญประชุมรับฟังการชี้แจงข้อมูล หรือนโยบาย อาจเป็นประกาศ ผ่านทางเอกสาร เสียงตามสาย ทางวิทยุ ทีวี ซึ่งจะเป็นการสื่อสารทางเดียว สมาชิกอาจเข้าใจหรือไม่เข้าใจครบถ้วน
ระดับที่ 2. to consult เป็นการมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ ผ่านกิจกรรมเช่น เวทีประชาคม การจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ซึ่งการมีส่วนร่วมประมาณ 1020 %
ระดับที่ 3. to involve เป็นระดับที่สมาชิกมีโอกาสเข้ามามีบทบาทมากขึ้น อาจเป็นกรรมการ คณะทำงาน มีการประชุมร่วมกัน เช่น เป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผน ระดับนี้มีส่วนร่วมประมาณ 3040 %
ระดับที่ 4 to collaborate ระดับนี้สมาชิกได้มีส่วนร่วมมากขึ้นในลักษณะของหุ้นส่วน อาจเป็นลักษณะทำโครงการร่วมกัน หรือเป็นคณะกรรมการที่ทำงานร่วมกัน โดยมีระดับของส่วนร่วมประมาณ 4050% อย่างไรก็ตาม ระดับนี้ ฝ่ายที่มีสิทธิมีเสียงหรือบริหารจัดการหลักคือฝ่ายรัฐบาล และงบประมาณก็มักมาจากฝ่ายรัฐบาลหรือองค์กรภายนอก ตัวอย่างเช่น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่ประธานเป็นนายอำเภอ กรรมการประกอบด้วยหัวหน้าส่วนงานหรือสถานศึกษาในอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และภาคธุรกิจ หรือโครงการที่รพ.สต.ทำร่วมกับอสม.
ระดับที่ 5 to empower เป็นระดับความร่วมมือที่สูงสุด คือ 90100 % ซึ่งสมาชิกเป็นเจ้าของโครงการ เป็นผู้รับผิดชอบบริหารจัดการโครงการ ดำเนินการจัดหางบประมาณเอง ภาครัฐบาลเป็นฝ่ายคอยช่วยสนับสนุนเมื่อชุมชนร้องขอ เช่น ขอวิทยากร หรือของรางวัล
ปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม แบ่งเป็น 2 ส่วน
1.ส่วนภาครัฐหรือผู้บริหาร ได้แก่
1) การมี mindset ว่าประชาชนไม่มีความรู้ ไม่มีความสามารถ ไม่มีศักยภาพเพียงพอ
2) ไม่เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน
3) เคยชิน ง่ายดี
4) ไม่รู้วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม
2.ส่วนภาคประชาชน ได้แก่
1) เคยชิน
2) คิดว่าตนเองไม่รู้ ไม่มีความสามารถ ไม่กล้า
3) ไม่เห็นความสำคัญ คิดว่าไม่เกี่ยวข้อง
4) ไม่เคยได้รับโอกาส
Thesis EP.41 การมีส่วนร่วมของชุมชน วิธีสร้างการมีส่วนร่วม participation
ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ ช่อง @คลินิกผู้นำ
อาจารย์มหาวิทยาลัย วิทยากร ผู้บริหาร มีประสบการณ์ในการสอนและทำงานกว่า 30 ปี
ยินดีสอนบรรยาย และเป็นที่ปรึกษา เกี่ยวกับ วิทยานิพนธ์ วิจัย R to R
Public speaking พฤติกรรมบริการ
รับให้คำปรึกษาการทำคลิปวิชาการ คลิปให้ความรู้
รับบริจาคสนับสนุนค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการทำคลิป บัญชีธนาคารกรุงไทย
นางอาภา ภัคภิญโญ 0880054166
ติดต่อ
[email protected]
Line ID: apayoung
https://www.facebook.com/ApaPuckpinyo FB คลินิกผู้นำ
https://www.facebook.com/AjarnApa FB คลินิกวิทยานิพนธ์
เผยแพร่คลิปทุก อังคาร พฤหัส และเสาร์

การมีส่วนร่วมของชุมชนคืออะไร ความหมาย ความสำคัญและปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม /ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ

แชร์หมดเปลือก!!! วิธีสอบได้รอบแรกพัฒนากร ลำดับ 24 \u0026 61 (ปี62) นักวิชาการพัฒนาชุมชน : CTNitinat


แชร์หมดเปลือก!!! วิธีสอบได้รอบแรกพัฒนากร ลำดับ 24 \u0026 61 (ปี62) นักวิชาการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
็How to แบบละเอียดยิบ บอกทุกเคล็ดลับ จากประสบการณ์ตรงผู้สอบได้ลำดับที่ 24 และ 61 ของบัญชีปี 2562 ตำแหน่งพัฒนากร หรือ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เป็น Vlog การไปรับประทานอาหารกลางวันที่ทรงคุณค่าจริง ๆ ค่ะ ♥ ขอขอบคุณพี่เปา ลำดับที่ 24 และน้องป๊อปลำดับที่ 61 ด้วยนะคะ 💞

แชร์หมดเปลือก!!! วิธีสอบได้รอบแรกพัฒนากร ลำดับ 24 \u0026 61 (ปี62)  นักวิชาการพัฒนาชุมชน : CTNitinat

สร้างความยั่งยืนแบบคนรุ่นใหม่ พัฒนาชุมชนให้เติบโตอย่างยั่งยืน


ด้วยความตั้งใจที่จะรักษาวิถีชีวิต สร้างความสุข และพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน จึงเกิดเป็นโมเดลต้นแบบ “โครงการพื้นที่วิถีชีวิตยั่งยืนแม่ทา” ที่ ต.แม่ทา อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
โครงการพื้นที่วิถีชีวิตยั่งยืนแม่ทา เป็นโครงการต้นแบบบนที่ 9 ไร่ ที่สมาชิกคนรุ่นใหม่รวมกลุ่มกันจัดสรรพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ ทั้งทำเป็นพื้นที่เพาะปลูกแบบอินทรีย์ ศูนย์การเรียนรู้ อาคารอบรมและทำกิจกรรมเวิร์คช็อปต่างๆ ที่สมาชิกจะผลัดเปลี่ยนกันมาแบ่งปันความรู้ที่ตนเองถนัด รวมถึงมีร้านเบเกอรี่ที่ใช้วัตถุดิบจากในชุมชนเพื่อให้ทุกคนเห็นประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่ ซึ่งพื้นที่แห่งนี้จะเป็นเหมือนจุดเชื่อมโยงระหว่างคนเมืองและคนท้องถิ่น สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เห็นคุณค่าของสิ่งที่มี ทั้งพื้นที่ทำกิน วัฒนธรรม และความเชี่ยวชาญที่คนชุมชนมี เพื่อส่งต่อความยั่งยืนจากรุ่นสู่รุ่น
กลุ่มเซ็นทรัล เราให้ความสำคัญกับการสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมความยั่งยืนในสังคมไทย เราเล็งเห็นว่าชุมชนแม่ทา เป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่มีความพร้อมและความตั้งใจจริงในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา เราจึงได้ร่วมกับ WWFThailand, มูลนิธิ FLR349 และหน่วยงานมากมายในการส่งเสริมและสนับสนุนด้านต่างๆ อาทิ สนับสนุนงบประมาณโครงการพื้นที่วิถีชีวิตยั่งยืนแม่ทา, สนับสนุนการก่อสร้างอาคารอบรมและห้องคัดแยกเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ และสนับสนุนการปรับปรุงอาคารคัดบรรจุผักและติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้กับสหกรณ์การเกษตรยั่งยืนแม่ทา.นอกจากนี้เรายังรับซื้อผลผลิตและเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลผลิตอินทรีย์ที่ จริงใจ Farmers Market เชียงใหม่ และ Tops Thailand ท็อปส์ ไทยแลนด์ ทั้ง 7 สาขา ใน จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และ จ.ลำปาง ด้วยเพื่อช่วยกระจายรายได้ให้กับชุมชนและส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาทำเกษตรอินทรีย์ให้มากขึ้นด้วย
“เซ็นทรัล ทำ” เชื่อว่าจุดเริ่มต้นของชาวแม่ทาในวันนี้จะเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ในอนาคต สิ่งต่างๆ ที่ทุกคนเริ่มทำในวันนี้จะถูกส่งต่อไปยังรุ่นลูกรุ่นหลาน สร้างความสุขแบบพอเพียงและสร้างความยั่งยืนสู่ชุมชนด้วย
โครงการพื้นที่วิถีชีวิตยั่งยืนแม่ทา 
เซ็นทรัลทำ
ทำด้วยกันทำด้วยใจ
CENTRALTham

สร้างความยั่งยืนแบบคนรุ่นใหม่ พัฒนาชุมชนให้เติบโตอย่างยั่งยืน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTECHNOLOGY

Leave a Comment