ทุกคำมีความหมาย | Every Mouthful is Meaningful | กลุ่มมิตรผล

ทุกคำมีความหมาย | Every Mouthful is Meaningful


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เพราะอาหาร คือสื่อกลางของความรู้สึก
กับข้าวทุกจาน อาหารทุกมื้อ ทุกคำที่แม่ดูแล มีความหมายเสมอ
เพราะปรุงมาจากความรัก ความทุ่มเท และเอาใจใส่ คอยเลือกสิ่งดีที่ดีที่สุดให้ลูก แล้วคุณหล่ะจดจำทุกคำ ที่ทำให้คุณเติบโตมาได้รึเปล่า?
ร่วมกันแชร์ทุกคำของแม่ ที่มีความหมายสำหรับคุณ
โพสต์ข้อความผ่านทาง Facebook และ Twitter พร้อมใส่ ทุกคำมีความหมาย ด้วยการเติมประโยค “แม่เคยบอกว่า………… ทุกคำมีความหมาย”
ข้อความของคุณอาจได้รับคัดเลือก เพื่อมาเผยแพร่ผ่านสื่อหนังสือพิมพ์
และป้ายโฆษณาดิจิตอลในวันแม่ที่ 12 สิงหาคมนี้

ติดตามรายละเอียดกิจกรรมได้ที่ www.facebook.com/brandcp

ทุกคำมีความหมาย | Every Mouthful is Meaningful

การจัดการแปลงปลูกอ้อย


เปลี่ยนวิถีการเกษตร ปรับปรุงดินครั้งเดียวเก็บผลผลิตอ้อยได้ยาวนาน
การเพิ่มผลผลิตอ้อยโดยใช้ฟิลเตอร์เค้กจากอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายในดินที่ขาดแคลนความอุดมสมบูรณ์ จ.ลพบุรี
พื้นที่ในการปลูกอ้อยจำนวน 15 ไร่ มีหน้าดินตื้น มีหินขนาดเล็กและใหญ่ปะปนอยู่มาก ไม่อุ้มน้ำ ขาดความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารพืช ได้ผลผลิตต่ำ 5 ตันต่อไร่
ทำการปรับปรุงและปรับเปลี่ยนหน้าดินให้เหมาะสมกับการปลูกอ้อย โดยใช้รถดันก้อนหิน และหน้าดินออกจากพื้นที่ลึก 30 เซนติเมตร แล้วนำฟิลเตอร์เค้กเก่ามาถมแทนหน้าดินเดิม
จัดทำแปลงสาธิตปลูกอ้อย พันธุ์ขอนแก่น 3 จำนวน 3 แปลง
ปลูกอ้อยด้วยการใช้ชุดเครื่องจักรปลูกอ้อยติดหลังรถไถ่ เฉลี่ยใช้ท่อนพันธุ์ 1.2 ตันต่อไร่
ในพื้นที่ 1 ไร่ มีเนื้อที่ปลูกอ้อย(แถวต้นอ้อย) รวมได้พื้นที่ 768 ตารางเมตร
แปลงที่ 1 ปลูกอ้อยใช้ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สูตร รองพื้นอ้อย ใส่อัตรา 100 กก./ไร่ โดยแบ่งใส่พร้อมการปลูกอ้อย 50 กก. และใส่หลังปลูกอ้อยอายุ 13 เดือน 50 กก.
ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สูตร แต่งหน้าอ้อย ใส่อัตรา 100 กก./ไร่ ช่วงอ้อยอายุ 3 6 เดือน
แปลงที่ 2 ปลูกอ้อยระบบอินทรีย์ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์มดเขียว อัตรา 400 กก./ไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง ช่วงอ้อยอายุ 13 เดือน และใส่หลังปลูกอ้อยอายุ 36 เดือน
แปลงที่ 3 ปลูกอ้อยระบบอินทรีย์ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ อัตรา 400 กก./ไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง ช่วงอ้อยอายุ 13 เดือน และใส่หลังปลูกอ้อยอายุ 36 เดือน
ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการทดลอง
ทำให้ดินที่มีปัญหาและขาดความอุดมสมบูรณ์สามารถเพิ่มผลผลิตและคุณภาพอ้อย โดยใช้วิธีการเปลี่ยนหน้าดินและปรับปรุงดินด้วย วัสดุอินทรีย์ซึ่งเป็นผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย
นอกจากนี้การปรับปรุงคุณสมบัติของดินให้เหมาะสมกับการปลูกอ้อย สามารถใส่วัสดุอินทรีย์เพื่อปรับปรุงจำนวนน้อยใส่ประจำทุกปี หรือใส่จำนวนมากเพียงครั้งเดียว สามารถเพาะปลูกอ้อยและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เพิ่มมากขึ้น ยังเป็นการปรับเปลี่ยนและพัฒนาวิถีการเกษตรให้มุ่งสู่ความยั่งยืน

การจัดการแปลงปลูกอ้อย

กลุ่มมิตรผล นำเสนอ ‘มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม’


คำอธิบาย

กลุ่มมิตรผล นำเสนอ 'มิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม'

Mitr Phol : Employees (โรงงานน้ำตาลมิตรภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ)


บรรยากาศการทำงานที่มิตรผล (โรงงาน) เป็นอย่างไร
ที่มิตรผล เราดูแลพนักงานเหมือนคนในครอบครัว นอกจากบรรยากาศการทำงานที่เป็นกันเองแล้ว พนักงานที่ทำงานที่โรงงานของเรา ยังได้รับสวัสดิการทั้งบ้านพัก อาหารทั้ง 3 มื้อ ชุดยูนิฟอร์ม ฯลฯ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้พนักงานมีความสุข เพราะนั่นคือหัวใจของการดูแลพนักงานของเรา

Mitr Phol : Employees (โรงงานน้ำตาลมิตรภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ)

เปิดปม : โรงงานน้ำตาลรุกคืบ (6 พ.ย. 59)


แม้คณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย รวมถึงผู้ประกอบการไม่สนับสนุนให้เผาอ้อย โดยใช้มาตรการตัดราคาอ้อยที่ผ่านการเผาตันละ 20 บาท แต่ในมุมของชาวไร่อ้อยพวกเขาบอกว่าไม่มีทางเลือกมากนัก เพราะการตัดอ้อยสดต้องใช้เวลาและเสียค่าใช้จ่ายมากกว่า ขณะที่แรงงานตัดอ้อยมีจำกัด และ ส่วนใหญ่เลือกรับงานที่อนุญาตให้เผาก่อนตัดเท่านั้น ข้อกังวลจากควันไฟและเถ้าจากการเผาอ้อยจึงเป็นอีกประเด็นที่ถูกตั้้ง
ติดตามชมรายการเปิดปม วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน 2559 เวลา 21.10 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : @ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

เปิดปม : โรงงานน้ำตาลรุกคืบ (6 พ.ย. 59)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆOUTDOOR

Leave a Comment