ศีล 10 สามเณร ep.1 | ศีลบรรพชา

ศีล 10 สามเณร ep.1


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

http://www.dmc.tv\r
ศีล แปลได้หลายความหมาย ซึ่งในอรรถกถา นิยมให้ความหมายว่า สีลนะ แล้วให้คำจำกัดความของคำว่า สีลนะ ไว้ ๒ ข้อหลัก คือ\r
\r
สมาทานํ การสำรวมกายวาจาไว้เรียบร้อยดี \r
อุปธารณํ รองรับการทำบุญชั้นสูงกว่าศีลขึ้นไป ได้แก่ รองรับการรักษาธุดงค์ การทำสมาธิ การทำวิปัสสนา. \r
กล่าวโดยสรุป ศีล จึงหมายถึง ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจา ให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่สะอาดปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการเว้นจากความชั่ว, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาให้ดียิ่งขึ้น, ความสุจริตทางกายวาจาและอาชีพ; และยังมักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า \”อธิศีลสิกขา\” ด้วย.\r
\r
ศีลในทางพระพุทธศาสนามี่อยู่หลายอย่างด้วยกัน.\r
\r
ปัญจศีล (ศีล ๕) หรือเรียกว่านิจจศีล(คือถือเนื่องนิจจ์) \r
อาชีวัฏฐมกศีล (ศีลกุศลกรรมบท ๑๐) หรือเรียกว่าอาทิพรหมจริยาศีล \r
อัฏฐศีล (ศีล ๘) หรือเรียกว่าอุโบสถศีล (ศีลอุโบสถ) \r
นวศีล (ศีล ๙) \r
ทสศีล (ศีล ๑๐) \r
ภิกษุณีวินัย (ศีล ๓๑๑) \r
ภิกษุวินัย (ศีล ๒๗๗) \r
ศีล แบ่งเป็น ๓ ระดับ คือจุลศีล (ศีลอย่างน้อย) ได้แก่ คหัฏฐศีลทั้ง ๒ คือ ศีล๕ และอาชีวัฏฐมกศีล มัชฌิมศีล (ศีลอย่างกลาง)ได้แก่ บรรพชาศีลทั้ง ๒ คือได้แก่อัฏฐศีล และทสศีล มหาศีล(ศิลอย่างสูง) ได้แก่ อุปสมบททั้ง๒ คือ ภิกษุณีวินัย และภิกษุวินัย\r
\r
ศีล คือ หลักในการปฏิบัติเพื่อที่จะให้ผู้ปฏิบัติมีกาย วาจา ใจ เป็นอิสระ จากเครื่องเหนี่ยวรั้งทั้งปวง และปกป้องตัวเองจากความเสื่อมทั้งหลาย และพ้นจากกรรมชั่ว ที่จะกลับมาสนองกับผู้ที่ไม่ปฏิบัติในศีล\r
\r
อานิสงส์ของการรักษาศีลแต่ละชั้นย่อมแตกต่างกันไป ตอนนี้ขอกล่าวถึงอานิสงส์กว้างๆ จากการรักษาศีล คือ ทำให้กาย วาจา ใจ สงบไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ทำให้สามารถที่จะทำให้จิตสงบได้ง่ายในการทำสมาธิ\r
\r
ศีล 10 หรือ ทสศีล สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดศรัทธาจะรักษาก็ได้ หัวข้อเหมือนศีล 8 แต่แยกข้อ 7 เป็น 2 ข้อ เลื่อนข้อ 8 เป็น 9 และเติมข้อ 10 คือ\r
\r
ศีล 10 ข้อ\r
เว้นจากทำลายชีวิต \r
เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ \r
เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี \r
เว้นจากพูดเท็จ \r
เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท \r
เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป \r
เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง ฯลฯ \r
เว้นจากการทัดทรงดอกไม้ ฯลฯ \r
เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ ฯลฯ \r
เว้นจากการรับทองและเงิน

ศีล 10 สามเณร ep.1

สอนศีลพระใหม่ | ห้ามภิกษุจงใจหรือแกล้งทำให้น้ำอสุจิเคลื่อน | สังฆาทิเสส ข้อ 1 (ต้องอยู่ปริวาสกรรม)


สังฆาทิเสส ข้อ1 : ห้ามจงใจหรือแกล้งทำให้น้ำอสุจิเคลื่อน
พูดให้เข้าใจง่ายๆ สั้นๆ ก็คือ ห้ามพระสำเร็จความใคร่นั่นเอง(การช่วยตัวเอง) จะสำเร็จหรือไม่สำเร็จก็ตาม ถ้ามีเจตนาทำให้อสุจิเคลื่อน ก็ผิดศีลข้อนี้ทันที

ข้อสงสัยจากพระใหม่
มีพระใหม่เคยถามกับอาตมาว่า \” ถ้าเราไปเจอ ผู้หญิงสวย น่ารัก เด็ด แล้วไอ้นั้นแข็งขึ้นมา ผิดไหม? \”
คำตอบ คือ ไม่ผิด ที่มันแข็ง เพราะเป็นเรื่องปกติที่ตาเห็นรูปสวยแล้วเกิดอารมณ์ (เป็นกระบวนการเกิดของอารมณ์) แต่จะผิดทันทีถ้ามีการเสียดสีกับอะไรสักอย่าง เพื่อตอบสนองความใคร่หรือเพื่อให้น้ำอสุจิเคลื่อน

สังฆาทิเสส ข้อ 1 เป็น ข้อที่ทำผิดง่ายที่สุด

Shortcut Time
00:15 ชื่อศีล สังฆาทิเสส ข้อ 1
00:24 อธิบายความหมายของคำว่า \”การทำให้อสุจิเคลื่อน\”
00:40 กรณีที่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส 4 กรณี
02:17 กรณีที่ไม่ต้องอาบัติสังฆาทิเสส 2 กรณี
02:31 เงื่อนไขการต้องสังฆาทิเสส 2 เงื่อนไข
03:00 สรุปและฝากข้อคิดถึงพระใหม่

สงสัย และ ตอบ
สงสัย : ถ้าทำผิด \”สังฆาทิเสส\” จะเกิดอะไรขึ้น?
ตอบ : พระรูปที่ทำผิดสังฆาทิเสส จะมีกรรมหนักติดตัวไป วิธีออกจากกรรมหนักนี้ คือ ต้องไปเข้าปริวาสกรรมอย่างน้อย 10วัน
สงสัย : แล้วถ้าทำผิด \”สังฆาทิเสส\” แล้วต้องทำอะไรก่อนเป็นอันดับแรก?
ตอบ : พระที่ทำผิดสังฆาทิเสส ต้องรีบ \”ปลงอาบัติ\” กับพระรูปใดก็ได้ทันที ที่ไม่ทำผิดสังฆาทิเสส ก่อนพระอาทิตย์ขึ้นในวันที่ทำผิดสังฆาทิเสส (จำเป็นมากที่สุด)
ขอบคุณทีมงาน
ผู้กำกับ : พระอุ้ม , ทิดอู๋
เครื่องแต่งกาย/ที่ปรึกษา : หลวงพี่มิน
กำลังใจ : โยมแม่ และ โยมอาม่า โยมอากง

ถ้าคลิปนี้เป็นประโยชน์ อย่าลืมกด Subcribe และ Share กันนะครับ เพื่อเป็นธรรมทานกับพระพึ่งบวชใหม่

Facebook page: https://www.facebook.com/monkbus/
Youtube channel : https://goo.gl/1UBhZN

สอนศีลพระใหม่
ห้ามภิกษุจงใจหรือแกล้งทำให้น้ำอสุจิเคลื่อน
สังฆาทิเสสข้อ1
ต้องอยู่ปริวาสกรรม

สอนศีลพระใหม่ | ห้ามภิกษุจงใจหรือแกล้งทำให้น้ำอสุจิเคลื่อน | สังฆาทิเสส ข้อ 1 (ต้องอยู่ปริวาสกรรม)

๕ คำขอสรณคมน์ และศีล


จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการท่องจำคำขอบวช แบบอุกาสะ สำหรับวัดณาณเวศกวันโดยเฉพาะ (แต่ละวัดแตกต่างกัน) หากผิดพลาดประการใดขออภัยด้วยครับ

๕ คำขอสรณคมน์ และศีล

งานอุปสมบท วัดคลองมอญ (ทุกขั้นตอน)


อุปสมบท พระภาสพนา สุตธมฺโม
ณ พัทธสีมา วัดคลองมอญ
ต.บ้านคลองสวน อ.พระสมุทรเจดีย์

งานอุปสมบท  วัดคลองมอญ (ทุกขั้นตอน)

คำขานนาค ขอบรรพชาอุปสมบท (แบบเอสาหัง)


คำขานนาค ขอบรรพชาอุปสมบท (แบบเอสาหัง)
วัดบวรนิเวศวิหาร : โดย พระมหานายก (พระมหาฉลอง ชลิตกิจฺโจ)
วีดีโอ นี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์ต่อ กุลบุตรผู้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ที่เข้าพิธีบรรพชา อุปสมบท ได้เอาไปฝึกออกเสียง คำขานนาค ตามตามพิธี อุปสมบท ผู้จัดทำตั้งใจทำ วีดีโอนี้ ในรูปแบบจดจำให้ง่ายขึ้น คือการปาดเนื้อคำ ในรูปแบบ คาราโอเกะ
สุดท้ายนี้ ผู้จัดทำได้ทำผิดพลาดประการใด ก็ขอกราบอภัยไว้ ณที่นี้ด้วย จะพยามปรับบุงแก้ใขให้ดีขึ้น ต่อไป

คำขานนาค ขอบรรพชาอุปสมบท (แบบเอสาหัง)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่TECHNOLOGY

Leave a Comment