สถานศึกษาพอเพียง64 โรงเรียนบ้านหนองนาหารสมสนุกวิทยา | เรียงความ เศรษฐกิจพอเพียง

สถานศึกษาพอเพียง64 โรงเรียนบ้านหนองนาหารสมสนุกวิทยา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.)ของโรงเรียนบ้านหนองนาหารสมสนุกวิทยา

สถานศึกษาพอเพียง64 โรงเรียนบ้านหนองนาหารสมสนุกวิทยา

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้


หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้

แรงบันดาลใจในการเขียนเรียงความเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระดับมัธยมศึกษา)


วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐ นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เป็นประธานเปิดงานในพิธีมอบรางวัลการประกวดเขียนเรียงความระดับเยาวชนเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยได้กล่าวขอบคุณทุกหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในการหว่านเมล็ดพันธุ์ที่จะช่วยส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และเสริมสร้างความเป็นพันธมิตรระหว่างประเทศไทยกับประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว ณ วิเทศสโมสร กระทรวงการต่างประเทศ
การประกวดเขียนเรียงความดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสนับสนุนนโยบายการสร้างหุ้นส่วนความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SEP for SDGs Partnership)
การประกวดแบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ (๑) ระดับประถมศึกษา หัวข้อ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันของฉัน” (๒) ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า หัวข้อ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (๓) ระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า หัวข้อ “SEP for SDGs ด้วยศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” มีผู้สนใจส่งผลงานเข้าประกวดทั้งสิ้น ๗๑๐ รายจากทั่วประเทศ แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา ๒๒๙ ราย ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ๔๕๐ ราย ระดับอุดมศึกษา ๓๑ ราย
โอกาสนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้มอบทุนการศึกษาและเกียรติบัตรแก่ผู้ชนะการประกวดในระดับต่าง ๆ รวม ๙ ราย ซึ่งจะมีสถานะเสมือน SEP for SDGs Young Ambassadors ของประเทศไทย ดังนี้
ระดับประถมศึกษา
(๑) รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เด็กหญิงชนากานต์ หัสกุล โรงเรียนบ้านหนองจิก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
(๒) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ได้แก่ เด็กชายกฤตภาส อภินันท์กูล
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม กรุงเทพมหานคร
(๓) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ได้แก่ เด็กชายเข็มชาติ จันทา
โรงเรียนบ้านสามพวง (สามัคคีพิทยา) จังหวัดสุโขทัย
ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า
(๑) รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ นางสาวอนุธิดา แก้วสุข โรงเรียนศรีหนองกาววิทยา จังหวัดขอนแก่น
(๒) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ได้แก่ นางสาวปฐมาวดี สุวรรณรัตน์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี
จังหวัดอุตรดิตถ์
(๓) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ได้แก่ นางสาวทิพย์ภาภรณ์ พรหมจินดา โรงเรียนสตรีระนอง จังหวัดระนอง
ระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า
(๑) รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ นางสาวปนัดดา บุญโสภณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
(๒) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ได้แก่ นายกฤษฎา เฮ้ารัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
(๓) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ได้แก่ นางสาวลลิล โพธิ์ศรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
ผลงานของเยาวชนผู้ชนะการประกวดจะได้รับการเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ วารสาร “ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา” และช่องทางอื่น ๆ ต่อไป นอกจากนี้เยาวชนที่ได้รับรางวัลจะได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

แรงบันดาลใจในการเขียนเรียงความเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระดับมัธยมศึกษา)

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง


ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง

เพลง อยู่อย่างพอเพียง


คำร้อง: สุรักษ์ สุขเสวี\r
ทำนอง: โสฬส ปุณกะบุตร\r
เรียบเรียง: โสฬส ปุณกะบุตร / เมธี ทวีทรัพย์\r
ขับร้อง: สำราญ ช่วยจำแนก

เพลง อยู่อย่างพอเพียง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTIPS

Leave a Comment