สารคดี 1 นาที กับ กปถ. ตอน การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร | งาน วิจัย เกี่ยว กับ การ จราจร

สารคดี 1 นาที กับ กปถ. ตอน การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ตอน การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร
การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร เป็นอีกสาเหตุสำคัญของอุบัติเหตุรุนแรงที่เกิดตามทางแยกต่างๆ ทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามทางแยก หรือบนถนนรอบตัวเมืองที่รถวิ่งมาด้วยความเร็วสูง และยิ่งผู้ขับขี่หรือผู้โดยสารไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ก็จะยิ่งอันตรายร้ายแรง ถึงขั้นบาดเจ็บสาหัส หรือเสียชีวิต เพราะหน้าอกผู้ขับขี่ จะกระแทกพวกมาลัย ส่วนผู้โดยสารอาจกระเด็นจากที่นั่ง กระแทกกับตัวรถได้รับอันตรายร้ายแรง โดยมักพบอุบัติเหตุร้ายแรงจากการขับรถ ฝ่าสัญญาณจราจร และผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้ประสบเหตุที่ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ดังนั้น การขับขี่ที่ปลอดภัย นอกจากต้องใส่ใจวินัยจราจร ไม่ฝ่าฝืนสัญญาณไฟ ยังต้องไม่ละเลย การคาดเข็มขัดนิรภัยนะคะ
เพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง นั่งหรือขับรถคาดเข็มขัดนิรภัย ขี่หรือซ้อนมอเตอร์ไซด์สวมหมวกกันน๊อคนะคะ

สารคดี 1 นาที กับ กปถ.  ตอน   การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร

ทีม มก. หนึ่งในคณะทำงานคณะกรรมาธิการคมนาคม วุฒิสภา รายงานการแก้ไขปัญหาจราจรในเขต กทม. (22 ก.พ.64)


22 ก.พ.64 เวลา 17.15 น. ณ ห้องประชุมจันทรา อาคารรัฐสภา
ทีมอาจารย์และนักวิจัยจาก ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีองค์รวมและปัญญาประดิษฐ์ ม.เกษตรศาสตร์
ได้แก่
ผศ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มก.
รศ.ดร.จิรศักดิ์ วงศ์เอกบุตร ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มก.
นายเฉลิมลาภ ศักดาปรีชา นักวิจัย
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคณะทำงานของคณะกรรมาธิการคมนาคม \”วุฒิสภา\”
ได้รับเชิญให้เข้ารายงาน
รายงานการพิจารณาศึกษามาตรการแก้ไขปัญหาจราจรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กรณีศึกษา การบริหารจัดการจราจรโดยใช้ระบบจราจรและขนส่งอัจฉริยะ( Intelligent Transport System : ITS)
ของคณะกรรมาธิการคมนาคม \”วุฒิสภา\”
เข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุมวุฒิสภา เพื่อรับฟังความคิดเห็นจาก วุฒิสมาชิก
ทาง ม.เกษตรศาสตร์ ได้นำเสนอ พื้นที่โครงการนำร่อง ITS ด้วยระบบ AI (ปัญญาประดิษฐ์)ใน กทม. ใช้เวลาดำเนินโครงการ 18 เดือน และ จะนำ model นี้ (ผลงานวิจัยจากโครงการนี้) เผยแพร่ ขยายผลสู่เขตต่าง ๆ ใน กทม. และ จังหวัดต่าง ๆ ต่อไป
Clip รายงานต่อที่ประชุม วุฒิสภา (ALL)
https://www.youtube.com/watch?v=3dld6kZUx0\u0026list=PL7f2_4CmVai8GWZApLdUXuNWZm7oPIrRC\u0026index=3
Clip รายงานต่อที่ประชุม วุฒิสภา (ทีม มก.)
https://www.youtube.com/watch?v=GDjx3ESbGpg\u0026list=PL7f2_4CmVai8GWZApLdUXuNWZm7oPIrRC\u0026index=1
==========
(สมัยปี 2552 เมื่อ 12 ปี มาแล้ว ผลงานจากการเป็นที่ปรึกษา โดย ทีม มก.)
วิศวฯ มก. ที่ปรึกษาสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งกล้องตรวจจับรถฝ่าไฟแดง ครั้งแรกของไทย
https://www.eng.ku.ac.th/news/?p=3317
โครงการติดตั้งระบบตรวจจับรถยนต์ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร
Red Light Camera
http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/52/06technology/pipat/techno_00.html

ทีม มก. หนึ่งในคณะทำงานคณะกรรมาธิการคมนาคม วุฒิสภา รายงานการแก้ไขปัญหาจราจรในเขต กทม. (22 ก.พ.64)

ฉายแวว [by Mahidol] ฟิสิกส์แก้รถติด


จากสภาพการจราจรที่ติดหนักในกรุงเทพฯ จนถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รถติดที่สุดในโลกทำให้ ก้อง ธิติ ชิตางกูร นักฟิสิกส์จากรั้วมหิดลผู้สนใจในเรื่องการจราจร ได้คิดหาทางแก้ปัญหาด้วยงานวิจัยของเขา จากการสังเกตการเคลื่อนที่ของรถยนต์ และรถมอเตอร์ไซค์บนท้องถนน นำมาสู่การทดลองสร้างเลนพิเศษในแบบจำลอง และคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ เรามาดูว่าเบื้องหลังงานวิจัยนี้ ก้องพบเจออุปสรรคอะไรบ้าง และเมื่อนำเรื่องที่ดูไม่น่าจะเกี่ยวข้องกันอย่างฟิสิกส์กับการจราจรมารวมกัน ผลลัพธ์ที่ออกมาเป็นอย่างไร ติดตามชมได้ในรายการฉายแวว ตอน ฟิสิกส์แก้รถติด
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Website | https://channel.mahidol.ac.th/

ฉายแวว [by Mahidol] ฟิสิกส์แก้รถติด

เทคนิคการเลือกหัวข้อวิจัย


การเลือกหัวข้อวิจัยหรือปัญหาวิจัย เป็นจุดเริ่มต้นที่จะนำไปสู่การดำเนินการวิจัยโดยสมบูรณ์
ดังนั้นการเลือกหัวข้อวิจัยที่จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะจะเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จในการเรียนระดับบัณฑิต

คมกริช อารีย์
facebook.com/idreambabloger

เทคนิคการเลือกหัวข้อวิจัย

กฎหมายรถยนต์ กฎหมายทางหลวง กฎหมายจราจร


20 กรกฎาคม 2561
วิชา กฎหมายรถยนต์ กฎหมายทางหลวง กฎหมายจราจร
ผู้สอน อาจารย์ โฆษิต มั่นคงดี

กฎหมายรถยนต์ กฎหมายทางหลวง กฎหมายจราจร

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTECHNOLOGY

Leave a Comment