เร็วมาก! แนะนำขั้นตอนวิธีปอกเปลือกกุ้งง่ายๆ แบบขั้นเทพ ที่คุณเองก็ทำได้ | เปลือกกุ้ง

เร็วมาก! แนะนำขั้นตอนวิธีปอกเปลือกกุ้งง่ายๆ แบบขั้นเทพ ที่คุณเองก็ทำได้


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เร็วมาก! แนะนำขั้นตอนวิธีปอกเปลือกกุ้งง่ายๆ แบบขั้นเทพ ที่คุณก็ทำได้
คลิกเดียว…กินเที่ยวทุกวัน: http://triptravelgang.com
Fanpage: https://www.facebook.com/Triptravelgang

เร็วมาก! แนะนำขั้นตอนวิธีปอกเปลือกกุ้งง่ายๆ แบบขั้นเทพ ที่คุณเองก็ทำได้

วิธีทำเชื้อไตรโคเดอร์มา โดยธงชนะ พรหมมิ


คลิปบางส่วนจากรายการคนเพื่อแผ่นดินนำเสนอตอน \”สวนอุทยาน\”(ตอน8)เป็นการเสนอ \”วิธีทำเชื้อไตรโคเดอร์มา\” ป็นเชื้อราที่รักษาโรคของพืชโดยเฉพาะโรครากเน่าของพืช คุณธงชนะ พรหมมิ เกษตรกรผู้มีองค์ความรู้เรื่องกสิกรรมไร้ส­­ารพิษระดับแนวหน้าของประเทศไทย ได้รับรางวัลต่างๆมากมาย สวนอุทยานเป็นส่วนหนึงของบ้านราชธานีอโศก รายการคนเพื่อแผ่นดินออกอากาศทางบุญนิยมที­­วี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 11.00 น. https://www.youtube.com/watch?v=SUnui… \”สวนอุทยาน\”(ตอน1)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ https://www.youtube.com/watch?v=BS9z… \”สวนอุทยาน\”(ตอน2)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ https://www.youtube.com/watch?v=KH88c…สวนอุทยาน\”(ตอน3)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ https://www.youtube.com/watch?v=oAVtn… \”สวนอุทยาน\”(ตอน4)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ https://www.youtube.com/watch?v=tMl9e… \”สวนอุทยาน\”(ตอน5)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ
https://www.youtube.com/watch?v=3gXflSxUeOUแสดงน้อยลง \”สวนอุทยาน\”(ตอน6)โดยคุณธงชนะ พรหมมิ สนใจคลิปองค์ความรู้กสิกรรมไร้สารพิษ ติดตามได้ที่นี่ครับ https://www.youtube.com/channel/UC6vdnJccKowk2aLzjvpIRg

วิธีทำเชื้อไตรโคเดอร์มา โดยธงชนะ พรหมมิ

เปลือกกุ้งเหลือ อย่าทิ้ง…! นำมาทำสารไคโตซาน บำรุงพืชกันดีกว่า | เกษตรกรชาวบ้าน


ไคโตซาน (Chitosan) เป็นอนุพันธ์ ชนิดหนึ่งของไคตินที่ได้จากการทำปฏิกิริยาดีอะซิทิเลชัน (deacetylation) ของไคตินในสารละลายด่างเข้มข้น สารไคตินและไคโตซานเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ สามารถแตกสลายได้ทางชีวภาพ (biodegradable)ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เกิดการแพ้ ไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (non–phytotoxic) แหล่งวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตสารไคตินและสารไคโตซานในปัจจุบัน ได้แก่ เปลือกกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก ซึ่งเป็นของเสียจากอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ซึ่งเปลือกกุ้งและกระดองปูมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ ไคติน (2030%) โปรตีน (3040%) และแคลเซียมคาร์บอเนต (3050%)
ประโยชน์ของไคโตซานกับการเกษตร
1.ช่วยยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
2. ทำให้พืชเกิดการสร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
3.สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช
4. ช่วยปรับค่าPHและเป็นประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ในดิน
5. พืชผักไร้สารพิษ ปลอดภัย 100 %
การใช้และอัตราการใช้
เพื่อปรับปรุงสภาพดิน 300500 ซีซี ผสมน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นหน้าดินให้ทั่วพื้นที่ 1 ไร่ ก่อนการเพาะปลูก
ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก 510 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
พืชไร่ ไม้ผล 1020 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
นาข้าว 20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
เพื่อเร่งการเจริญเติบโต ฉีดพ่นให้ทั่วทุก 1520 วัน
เพื่อกระตุ้นการแตกราก ตา ใบ ดอก การแตกหน่อและแขนงต่างๆ1020 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตรฉีดพ่น ลำต้น ใบ และ ดอก ให้ทั่วทุก 20 วัน
เพื่อช่วยการขยายพันธุ์พืช 80 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร แช่ส่วนที่นำไปปักชำ หรือขยายพันธุ์ 2 ช.ม.
เพาะพันธุ์กล้า ใช้ไคโตซานคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนหว่าน อัตราส่วนผสมไคโตซาน 20 ซีซี + น้ำ 100 ซีซี คลุกให้เข้ากันแล้วนำเมล็ดพันธุ์ไปหว่านปรับสภาพดินก่อนปลูก ไคโตซาน 20 ซีซี + น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นแปลงก่อน 7 10 วัน
ติดตามเรา https://www.youtube.com/c/MaryoRoiEt
ติดต่อเรา https://www.facebook.com/kasettakon/
.
เกษตรกรชาวบ้าน

เปลือกกุ้งเหลือ อย่าทิ้ง...! นำมาทำสารไคโตซาน บำรุงพืชกันดีกว่า | เกษตรกรชาวบ้าน

แกะกุ้งง่ายที่สุด ในสามโลก


ใช้อุปกรณ์ในครัวมาแกะกุ้งง่ายๆ

แกะกุ้งง่ายที่สุด ในสามโลก

เปลือกกุ้ง-กระดองปู อย่าทิ้ง! มาทำ”ปุ๋ยน้ำโคโตซาน” กันเถอะ | เกษตรกรชาวบ้าน


ไคโตซาน (Chitosan) เป็นอนุพันธ์ ชนิดหนึ่งของไคตินที่ได้จากการทำปฏิกิริยาดีอะซิทิเลชัน (deacetylation) ของไคตินในสารละลายด่างเข้มข้น สารไคตินและไคโตซานเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ สามารถแตกสลายได้ทางชีวภาพ (biodegradable)ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เกิดการแพ้ ไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (non–phytotoxic) แหล่งวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตสารไคตินและสารไคโตซานในปัจจุบัน ได้แก่ เปลือกกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก ซึ่งเป็นของเสียจากอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง ซึ่งเปลือกกุ้งและกระดองปูมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ ไคติน (2030%) โปรตีน (3040%) และแคลเซียมคาร์บอเนต (3050%)
ประโยชน์ของไคโตซานกับการเกษตร
1.ช่วยยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
2. ทำให้พืชเกิดการสร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
3.สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช
4. ช่วยปรับค่าPHและเป็นประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ในดิน
5. พืชผักไร้สารพิษ ปลอดภัย 100 %
การใช้และอัตราการใช้
เพื่อปรับปรุงสภาพดิน 300500 ซีซี ผสมน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นหน้าดินให้ทั่วพื้นที่ 1 ไร่ ก่อนการเพาะปลูก
ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก 510 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
พืชไร่ ไม้ผล 1020 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
นาข้าว 20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
เพื่อเร่งการเจริญเติบโต ฉีดพ่นให้ทั่วทุก 1520 วัน
เพื่อกระตุ้นการแตกราก ต่าา ใบ ดอก การแตกหน่อและแขนงต่างๆ1020 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตรฉีดพ่น ลำต้น ใบ และ ดอก ให้ทั่วทุก 20 วัน
เพื่อช่วยการขยายพันธุ์พืช 80 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร แช่ส่วนที่นำไปปักชำ หรือขยายพันธุ์ 2 ช.ม.
เพาะพันธุ์กล้า ใช้ไคโตซานคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนหว่าน อัตราส่วนผสมไคโตซาน 20 ซีซี + น้ำ 100 ซีซี คลุกให้เข้ากันแล้วนำเมล็ดพันธุ์ไปหว่านปรับสภาพดินก่อนปลูก ไคโตซาน 20 ซีซี + น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นแปลงก่อน 7 10 วัน
ติดตามเรา https://www.youtube.com/c/MaryoRoiEt
ติดต่อเรา https://www.facebook.com/kasettakon/
เกษตรกรชาวบ้าน

เปลือกกุ้ง-กระดองปู อย่าทิ้ง! มาทำ”ปุ๋ยน้ำโคโตซาน” กันเถอะ | เกษตรกรชาวบ้าน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆCUISINE

Leave a Comment