โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 | เทศกาล สาด สี | สังเคราะห์เคล็ดลับดีๆหรือชีวิตที่มีประโยชน์

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 | เทศกาล สาด สี.

[button color=”primary” size=”small” link=”http://” icon=”” target=”false” nofollow=”false”]ชมวิดีโอด้านล่าง[/button]

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทศกาล สาด สี หรือข่าวที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โปรดไปที่: https://chewathai27.com/tips/ การกระทำ

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 และรูปภาพที่เกี่ยวข้องเทศกาล สาด สี

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64
โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64

“โฮลี” เป็นประเพณีของชาวฮินดูที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะของเหล่าทวยเทพ ด้วยรูปแบบการเล่นที่สาดสีกันอย่างสนุกสนาน ทำให้หลายคนเชื่อว่านี่คืออิทธิพลที่อินเดียได้ส่งต่อไปยังเทศกาลสงกรานต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่แท้จริงแล้วทั้งสองเทศกาลนี้มีต้นกำเนิดต่างกัน.

>>> สามารถหาข้อมูลที่น่าสนใจอื่นๆ ได้ที่นี่ เรา
แบ่งปันที่นี่

เทศกาล สาด สี – การค้นหาที่เกี่ยวข้อง.

#โฮล #สาดส #ไมใชสงกรานต #ประวตศาสตรนอกตำรา #EP64.

[vid_tags]

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64

เทศกาล สาด สี.

ด้วย ข้อมูล ในหัวข้อ เทศกาล สาด สี นี้จะ มีคุณค่า มาสู่คุณ ขอแสดงความนับถือ.

48 thoughts on “โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 | เทศกาล สาด สี | สังเคราะห์เคล็ดลับดีๆหรือชีวิตที่มีประโยชน์”

  1. อยากรู้ประวัติการสร้างขันน้ำ การรดน้ำหรือสาดน้ำผมว่ามันต้องมาทีหลังการสร้างขัน

    Reply
  2. สีจากอะไร หรอครับ สารเคมีป่าวนะ 555
    แต่ผมติดตามดูทุกวันเลยครับ

    Reply
  3. เปิดโลกทรรศน์​ ทำให้มีวิสัยทัศน์​ ของความเป็นคนคือ "ประวัติศาสตร์​นอกตำรา"

    Reply
  4. ไปเจอวันปีใหม่อิหร่านใกล้เคียงกับช่วงสงกรานต์ของ ไทยและเพื่อนบ้าน ซึ้งเลยว่า สงกรานต์ของเรามาจากไหน ทำไมต้องจัดช่วงนี้ ทั้งๆที่อากาศไม่เอื้อ แต่เราปรับความเชื่อกับการฉลองไปใช้กับอย่างอื่นแทน

    Reply
  5. เคยเห็นสารคดีเวียดนาม ที่ถ่ายทำพิธีเสนสอฝนของชาวไตดำ มีการลอยตัวเงือกลงแม่น้ำแล้วสาวๆจะลงเล่นน้ำต่อจากนั้นคนอื่นก็จะฉุดกันลงเล่นน้ำ ผมว่านี่ยังคล้ายสงกราน์เรามากกว่า

    Reply
  6. โฮลีอาจจะไม่ใช่ต้นกำเนิดของสงกรานต์โดยตรง​ แต่ทั้งสองเทศกาลก็มีความคล้ายกันในแง่ของเป็นการเปลี่ยนผ่านไปสู่ฤดูใหม่​ / ปีใหม่​ ผ่านจากหน้าหนาว​ / หน้าแล้ง​ อันเป็นตัวแทนของความตาย​ ไปสู่ฤดูแห่งการเพาะปลูก​ การงอกงาม​อันเป็นความหมาย​ของชีวิตใหม่​ รวมทั้งเทศกาลโนรุส หรือประเพณี​ปีใหม่ของชาวอิหร่าน​ ซึ่งเป็นกลุ่มเชื้อสายชาวอารยันเก่าแก่อีกกลุ่มหนึ่ง​ โดยกำหนดอยู่ในช่วงเดือนมีนาคม​เช่นกัน​ (ปัจจุบัน​ถูกกำหนดให้ตรงกับวันที่​ 21 มีนาคม​ของทุกปี)​ ผมจึงเห็นว่าเทศกาลเหล่านี้น่าจะมีที่มาต้นทางร่วมกัน​ ก่อนจะแยกย้ายกันไปในแต่ละพื้นที่​ ภูมิศาสตร์​ที่ต่างกัน​ ตำแหน่งทางดาราศาสตร์​ต่างกัน ก่อนจะมาหาวิธีคำนวน​ที่ต่างกัน​ ทางจันทรคติ​หรือสุริยคติ​ รวมทั้งเรื่องราวทางเทพปกรณัม​ที่เพิ่มเติมเข้ามาในภายหลังเพื่อความศักดิ์สิทธิ์​ยิ่งขึ้น

    Reply
  7. เพิ่งเคยเห็นคุณธีรภาพดีใจจังติดตามผลงานเขียนมานานแล้วค่ะ

    Reply
  8. เคยไปอินเดีบเจอเทศกาลนี้พอดีคะ
    ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความเชื่อ. น่าทึ่งตรงที่ต่างคนต่างอยู่ต่างใช้ชีวิตในรูปแบบของความเชื่อของใครของมัน ประชาธิปไตยทางความเชื่อให้ 100 % สำหรับอินเดียคะ

    Reply
  9. เอาประวัติประเพณีไทยหน่อยคับ เช่น วงการ บุญปั้งไฟ ลอยกระทง หรือประเพณีต่างๆ แย่ารุ้ว่าเรื่องครั้งยังไงคับ

    Reply
  10. วัฒนธรรมการเล่นน้ำนั้นเป็นของคนไทมานานแต่ดึกดำบบรรพ์ ก่อนที่เราจะรับความเชื่อใหม่ ไม่ใช่มาจากเทศกาลสาดสีของอินเดีย การลงผีหมอ หมอเหยา หมอมด หมอมนต์ เลี้ยงสังขาน เลี้ยงผีแถน ผีฟ้า จะต้องมีลงเล่น สาดน้ำ ลอยเคราะห์ ลอยโศกในแม่น้ำ ข้ามห้าย (ห้วงน้ำใหญ่) เพื่อไปเฝ้าแถน ส่งเครื่องสักการะไปยังเมืองฟ้า เล่นน้ำส่งท้ายพิธี ส่วนการสาดน้ำนั้นเป็นการละเล่นเพื่อความสนุกสนานเสริมเข้ามา อะไรที่เรายังศึกษาไม่ถึงคนไทยชอบยัดให้แขกอินเดียหมด โดยไม่พยายามศึกษาหาข้อมูลเชิงลึกจากสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ก่อน คงเพราะคิดว่ามันเป็นความล้าหลังไม่ศิวิไลซ์เท่าความเชื่อใหม่ที่มาจากแดนไกล

    Reply
  11. ชื่นชมทีมงานมาก ขนาดช่วงโควิดยังมีเรื่องต่างประเทศทั้งพม่า ทั้งอินเดียและอื่นๆ แสดงว่าเตรียมการไว้ดีมาก ถ้ามีโดเนทก็ยินดีสนับสนุนช่องแบบนี้ ^ _ ^

    Reply
  12. อยากรู้ว่าสีทำมาจากอะไรบ้าง..มันจะน่ากลัวมาก.ถ้ามีการปนเปื้อนสารเคมี

    Reply
  13. เป็นเทศกาลที่ผมประทับใจมากๆ สนุกจริง คนอินเดียเต้นเก่งกันมาก ผมเเละสมาชิกเป็นจุดสนใจคนอินเดียมาก เพราะลุคแบบเอเชียมองโกล โดนลากไปเต้น แล้วพวกไม่ยอมปล่อย แทบเป็นลม 😂

    Reply
  14. มันก็ถูกนะครับสงการณ์คือการรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่รดน้ำให้เเก่กันหาใช่สาดสีใส่กันสาดสีนี้เป็นการเล่าเรื่องเทพของฮินดูต่างกันคนละเรื่องเลยความรู้ใหม่

    Reply
  15. เทศกาลกลางวันของไทยคือสงกรานต์ เทศกาลกลางคืนของไทยคือลอยกระทง

    ทั่วโลกต่างก็มีเทศกาลกลางวันและกลางคืนแตกต่างกันไป

    Reply
  16. ที่เคยอ่านมา โฮลี เมื่อก่อนจัดขึ้นเพื่อบูชาพระกามเทพ หลังจากที่โดนไฟจากเนตรที่ 3 ของพระศิวะเผาเป็นจุน แต่ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นการฉลองให้กับการมีชัยของพระกฤษณะ

    Reply
  17. โฮลี่ไม่ใช่สงกรานต์ แต่พิธีสงกรานต์ฮินดู คือสงกรานติ มีทุกเดือน ตอนช่วงเมษายนเรียกว่า เมษสงกรานติ ไม่มีพิธีใหญ่โตเป็นวันครอบครัว และพวกพราหมณ์ทำพิธีบูชาอยู่บ้าน นอกจากนี้ก็มี มกรสังกรานติที่อินเดียใต้เรียกว่า "โปงคัล" ฯลฯ ประจำทุกเดือน เพรราะเป็ยการบูชาพระอาทิตย์ที่ข้ามไปสู่ราศีใหม่ ซึ่งการบูชาพิธีสงกรานต์อาจจะไปทับกับเทศกาลท้องถิ่นแต่ละที่เลยมีการจัดร่วมกันไปบ้างเพราะซ้อนทับกัน แต่อย่างไรการบูชาพระอาทิตย์งานใหญ่บ้างเล็กบ้างก็มีอิทธิพลมาจากโหราศาสตร์ฮินดู ตำนานท้องถิ่นเป็นแค่เรื่องเล่าทำให้คนสนุกขึ้น แลเรู้สึกว่าศักดิ์สิทธิ์ขื้นเท่านั้น

    Reply
  18. ดีใจค่ะที่ได้เห็น อ ธีรภาพ ค่ะ, นักเขียนท่องเที่ยวเชืงสารคดีและวัฒนธรรมที่อยู่ในใจเสมอมาค่ะ, คิดถึงงานเขียนท่องเที่ยวอาจารย์ค่ะ

    Reply
  19. ตอนไปวัดไม่ต้องเดินเลยค่ะ ลอยไป คนเยอะมาก เข้าใจคำว่ามวลมหาชนก็ตอนนั้น

    Reply

Leave a Comment